สำนวนบอกรัก ในเดือนแห่งความเลิฟ

สำนวนบอกรัก ในเดือนแห่งความเลิฟ ❤️ 🚩https://vt.tiktok.com/ZSFNAuWAC/ ช่อง Tiktok คณะศิลป​ศาสตร์​ มหาวิทยาลัย​เทคโนโลยี​ราช​มงคล ​พระนคร​ ถ่ายทำ​และ​ตัดต่อ​: อ. เสก​สิทธิ์​ เพ็ชร​ชิน​เลิศ​ Presented by คณะกรรมการ​ผลิต​สื่อ​ประชา​สัมพันธ์​ ผ่าน Social Media #FastForward #RMUTP ยอดผู้เข้าชม : 24

แนวปฏิบัติที่ดี : โครงการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

แนวปฏิบัติที่ดีโครงการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 งานประกันคุณภาพและการจัดการความรู้ สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คลิ๊กเพื่ออ่าน ยอดผู้เข้าชม : 212

บทความบูรณาการ “ทอทั้งใจ”

โดย คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ร่วมกับ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ภายใต้โครงการ Creative Young Designers Season 2 คลิ๊กเพื่ออ่าน ยอดผู้เข้าชม : 119

Farm รู้ EP.5 | เนยถั่วดาวอินคา นวัตกรรมอาหารแนวใหม่ – ผศ. ดร.สิริรัตน์ พานิช

ศูนย์การจัดการความรู้เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดีจากองค์ความรู้ผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจำปี 2564 ในรายการ Farm รู้ EP.5 เรื่อง “เนยถั่วดาวอินคา นวัตกรรมอาหารแนวใหม่” โดย ผศ. ดร.สิริรัตน์ พานิช   จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักวิจัยดีเด่นด้านการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สร้างหัวใจแห่งการแบ่งปัน ส่งเสริมวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนการจัดการความรู้ภายในมหาวิทยาลัย สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ งานวิชาการและสารสนเทศ ศูนย์การจัดการความรู้ มทร.พระนคร ยอดผู้เข้าชม : 110

ประโยชน์จาก“โปรตีน” แข็งแรงด้วยพืชผัก “เฮลตี้”

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรลักษณ์ ปัญญาธิติพงศ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ให้ความรู้เรื่อง ประโยชน์จาก“โปรตีน” แข็งแรงด้วยพืชผัก “เฮลตี้” ผ่าน หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ วาไรตี้ เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2565 ที่มา https://www.dailynews.co.th/articles/1489903/ ยอดผู้เข้าชม : 32

Farm รู้ EP.4 | ผ้าไทย…ใครว่าเชย – ผศ.ยุทธภูมิ สุวรรณเวช

ศูนย์การจัดการความรู้เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดีจากองค์ความรู้ผู้รับรางวัลบุคคลดีเด่นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประจำปี 2564 ในรายการ Farm รู้ EP.4 เรื่อง “ผ้าไทย…ใครว่าเชย” โดย ผศ.ยุทธภูมิ สุวรรณเวช จากคณะศิลปศาสตร์ ผู้ได้รับรางวัลผู้แต่งกายผ้าไทยดีเด่น ประจำปี 2564 ของมหาวิทยาลัย สร้างหัวใจแห่งการแบ่งปัน ส่งเสริมวัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สนับสนุนการจัดการความรู้ภายในมหาวิทยาลัย สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ งานวิชาการและสารสนเทศ ศูนย์การจัดการความรู้ มทร.พระนคร ยอดผู้เข้าชม : 111

บทความ KM – “บ้านเชียง” ถอดบทเรียนจากรางวัลชนะเลิศท่องเที่ยวชุมชนเมืองรอง พ.ศ.2561

บทความโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรถการ สัตยพาณิชย์ เมื่อพูดถึงชื่อ “บ้านเชียง” เชื่อว่าความรู้ทางประวัติศาสตร์ สมัยประถม มัธยม ผุดขึ้นมาในความทรงจำของใครหลาย ๆ คน ในฐานะที่บ้านเชียงเป็นแหล่งอารยธรรมก่อนประวัติศาสตร์ที่มีอายุมากกว่า 5,600 ปี ชุมชนบ้านเชียง ตั้งอยู่ที่ ต.บ้านเชียง อ.หนองหาน จ.อุดรธานี เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีทุนตั้งต้นจากการเป็นแหล่งอารยธรรมเก่าที่สามารถดึงดูดความสนใจให้นักท่องเที่ยวได้ไปเยือน ส่วนต้นทุนที่สองก็คือ ดินแดนแห่งนี้เมื่อ 200 กว่าปีที่ผ่านมา มีกลุ่มคนที่อพยพจากเมืองพวนของลาวได้ข้ามแม่น้ำโขงมาลงหลักปักฐาน ตั้งแต่ พ.ศ.2360 นับเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวอีกอย่างหนึ่งที่นักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้วัฒนธรรมของพี่น้องชาติพันธุ์ชาวไทพวน ที่ปัจจุบันมีการผสมผสานเข้ากับวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ของพี่น้องชาวภาคอีสานได้อย่างลงตัว เมื่อ พ.ศ.2561 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย หรือ ททท. ได้คัดเลือก 10 ชุมชนในเมืองรองทั่วประเทศมาประกวดประชันกัน ผมได้มีโอกาสไปเป็นกรรมการทั้งหมด 5 ชุมชน ประกอบด้วย 3 ชุมชนใน จ.น่าน ได้แก่ ชุมชนบ่อสวก ชุมชนน้ำเกี๋ยน และชุมชนบ้านเก็ต  อีก 1 ชุมชนอยู่ที่ อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ ชื่อชุมชนบ้านสนวนนอก และอีก 1 ชุมชนก็คือ ชุมชนบ้านเชียง […]

บทความ KM – Roi Et Brand : แนวคิดการสร้างแบรนด์ประทับตรารับรอง

บทความโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรถการ สัตยพาณิชย์ เมื่อต้นเดือนพฤษภาคม 2561 ผมได้มีโอกาสไปเป็นคณะกรรมการตัดสินการประกวดตราสัญลักษณ์แบรนด์จังหวัดร้อยเอ็ด (Roi Et Brand) จัดขึ้นโดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดร้อยเอ็ด ก็ต้องถือว่าเป็นอีกครั้งที่ได้พบเห็นกิจกรรมในลักษณะนี้เกิดขึ้น และสะท้อนให้เห็นว่าหน่วยงานภาครัฐทุกวันนี้ให้ความสำคัญกับ แนวคิดการสร้างแบรนด์ กันมากขึ้น การสร้าง Roi Et Brand ของจังหวัดร้อยเอ็ด มีวัตถุประสงค์เพื่อนำตราสัญลักษณ์แบรนด์ที่ชนะการประกวดไปประทับตราให้แก่สินค้าหรือบริการที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่ทางจังหวัดฯ กำหนดขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยสร้างความมั่นใจให้แก่ลูกค้าหรือผู้มาใช้บริการว่าสินค้าหรือบริการนั้นได้ผ่านการรับรองคุณภาพในด้านต่างๆ แล้ว ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา มีบางจังหวัดที่เริ่มสร้างแบรนด์ในลักษณะ Endorsed Brand ขึ้น เพื่อเป็นการประทับตรารับรองผลิตภัณฑ์ของจังหวัด เช่น สงขลา ก็มีแบรนด์ Best of Songkhla  ส่วน บุรีรัมย์ ก็ใช้ชื่อแบรนด์ว่า Buriram Brand เป็นต้น ในมุมมองของคนสร้างแบรนด์ก็จะรับรู้กันว่า Endorsed Brand เป็นการใช้แบรนด์หลัก (Masterbrand’s endorsement) มาเพื่อช่วยประทับตรารับรองความน่าเชื่อถือ และเป็นการช่วยสร้างการจดจำให้แก่สินค้าใหม่ที่ออกมาให้กลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้รู้จักในเวลาอันรวดเร็ว อย่างเช่นตอนที่บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ควิก ออกวางตลาดใหม่ ๆ ก็จะใช้ Endorsed Brand คือแบรนด์  ไวไว  เพื่อสร้างความไว้วางใจให้แก่ลูกค้า โดยใช้ชื่อแบรนด์เต็มๆ ในการสื่อสารเพื่อให้คนรับรู้กันในชื่อ ไวไว ควิก แต่พอออกมาได้สักระยะ ก็ค่อยๆ ลดขนาดตัวอักษร ไวไว ให้เล็กลง ในขณะที่ตัวอักษรคำว่า ควิก มีการขยายให้ใหญ่ขึ้น การเลือกแนวทางการสร้างแบรนด์แบบนี้ คนที่สร้างแบรนด์ก็มีความตั้งใจและเชื่อมั่นเป็นเบื้องต้นแล้วว่าแบรนด์ใหม่ที่เกิดขึ้น อย่างในกรณี ควิก นั้นจะสามารถเติบโตได้ด้วยตนเอง หลังจากแบรนด์หลักได้ทำหน้าที่ประคับประคองไปสักระยะหนึ่ง ตัวอย่างแบรนด์ในต่างประเทศที่ใช้แนวคิดนี้ก็มีหลายแบรนด์ เช่น […]