Page 70 - 12annualfinancial
P. 70
63
5.2 ข้อเสนอแนะ
จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบการจัดท าประมาณการรายรับ
งบประมาณเงินรายได้ประจ าปี ผู้เขียนขอเสนอแนวทางในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงการจัดท าประมาณ
การรายรับ ดังนี้
1. จากการน าเสนอร่างงบประมาณเงินรายได้ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ต่อคณะกรรมการบริหารเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ผู้เขียนได้รับข้อสังเกตว่า การจัดท าประมาณการ
รายรับควรใช้ตัวเลขนักศึกษาเดียวกันกับการจัดท าค าเสนอของบประมาณรายจ่ายประจ าปี เพอให้กรอบ
ื่
การค านวณวงเงินมีความสอดคล้องกัน
2. จากข้อ 1 ผู้เขียนขอเสนอเพมเติมว่า การใช้ตัวเลขนักศึกษาเดียวกันกับการเสนอขอ
ิ่
งบประมาณรายจ่ายประจ าปี นั้น จะช่วยให้สามารถด าเนินการจัดท างบประมาณเงินรายได้ประจ าปีได้
รวดเร็วมากขึ้น หรือสามารถเริ่มด าเนินการได้พร้อมกันกับการจัดท างบประมาณรายจ่าย ซึ่งจะท าให้
ิ
มหาวิทยาลัย มีระยะเวลาในการพจารณาค าเสนอขอตั้งงบประมาณเงินรายได้ประจ าปี
ได้อย่างละเอียด รอบคอบมากยิ่งขึ้น
3. เกณฑ์การค านวณประมาณการรายรับ ควรมีการพจารณาทบทวนการก าหนดเกณฑ์ทุกปี
ิ
หรืออย่างน้อยทุก 3 ปี เพื่อให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์จริงของมหาวิทยาลัย
4. มหาวิทยาลัย ควรทบทวนการตั้งแผนรับนักศึกษาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่
ื่
จ านวนนักศึกษาลดลงอย่างต่อเนื่อง ไม่ควรตั้งแผนรับนักศึกษาสูงเกินไป เพอป้องกันปัญหารายรับจริงต่ า
กว่าประมาณการรายรับและประมาณการรายจ่ายที่ตั้งไว้ จนต้องมีการปรับแผนการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจ
ส่งผลให้มหาวิทยาลัยไม่สามารถด าเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ได้
5. การค านวณประมาณการรายรับ ยังเป็นการค านวณด้วยมือ ซึ่งมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก ถึงแม้ว่า
จะมีการใช้โปรแกรม Microsoft Excel ในการช่วยค านวณก็ยังคงมีความผิดพลาด อกทั้งมหาวิทยาลัย
ี
มีเป้าหมายในการเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล จึงขอเสนอว่าควรมีการปรับปรุง/พฒนาระบบสารสนเทศที่ใช้
ั
ส าหรับค านวณวงเงินประมาณการรายรับที่จะสามารถอานวยความสะดวกและลดระยะเวลาการท างาน
ของผู้ปฏิบัติงาน
6. เนื่องจากมหาวิทยาลัย มีการเปิด - ปิดหลักสูตร การเปลี่ยนแปลงระเบียบ ประกาศ
ที่เกี่ยวข้องกับการจัดท าประมาณการรายรับอยู่เป็นระยะ ผู้ปฏิบัติงานต้องติดตามข่าวสาร ทบทวนข้อมูล
ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อลดความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความผิดพลาดลง