Page 22 - 3-9fogproject
P. 22
14
ี
ื
ึ
ู
มหาวิทยาลัย Stanford ซ่งสวนมากอยูภายใตมาตรฐาน RFC 2131 ถกประกาศในเดอนมนาคมป ค.ศ.
ื
1997 โพรโทรคอล DHCP ยังถูกพัฒนาการทํางานอยูเรื่อยๆ รุนลาสุดของ DHCP คอ DHCPv6 ซึ่งใชกับ
โพรโทคอล IPv6 ที่ไดรับการอนุมัติเมื่อเดือนกรกฎาคม ป ค.ศ. 2003
3.3.2 หลักการทํางานของ DHCP Server
ุ
อปกรณใน Network จะทําการสงขอมูลภายใน หรือ ระหวาง Network ผาน TCP/IP
ุ
ซึ่ง DHCP Server เองสามารถจัดการคา TCP/IP ของแตละอปกรณใน Network ใหอัตโนมัติ หรือ บาง
ุ
ํ
็
ิ
ิ
อปกรณสามารถกาหนดคาเองโดยไมตองอางองตาม DHCP กได เชนในบานเรือนปกตจะไดรับ Public
IP จากผูใหบริการ Internet หรือ ISP เพียแค 1 IP ซ่งถาเรามีอุปกรณท่ตองการเชื่อมตอ Internet
ึ
ี
ื
หลายอปกรณ เราสามารถใชคุณสมบัติ DHCP ใน Router เพ่อแจกจาย Local IP หรือ Private IP
ุ
ั
(192.168.1.0/24) แจกจายใหกับอุปกรณภายในบานแทน ซ่งท้งหมดก็จะ NAT กลับออกสู Internet
ึ
ดวย Public IP
DHCP ทํางานในลักษณะ Client-Server เมื่ออุปกรณภายใน Network ไดเชื่อมตอเขา
ื
มา ฝง DHCP Client หรืออุปกรณเองจะทําการสง Broadcast เพ่อคนหาขอมูล DHCP Server และ
เม่อ DHCP Server ไดรับขอมูลคําขอแลว จะทําการจัดการกับ IP Pool ท่ตัวเองเก็บไว ซ่งจะมีขอมล
ึ
ี
ู
ื
ของ Default Gateway, Domain Name, Name Servers และ Time Servers โดย DHCP server
จะสงขอมูล Configuration Network ที่ยังไมมีผูใชงาน ใหกับ Client ซึ่งคานี้ฝง DHCP จะทําการจดจํา
ึ
ไวในชวงระยะเวลาหนึง ซ่งถา Client มการ Reboot และเชือมตอมาใหม ทาง DHCP Server จะไดสง
ี
่
คาเดิมกลับไปให แตถาเกินชวงเวลาที่วา DHCP Server ก็อาจจะสงคาใหมกลับไปใหแทน
ึ
ํ
่
1) DHCP Discover เริมจากเม่อเปดเครือง Client ข้นมาก็จะถูกกาหนดให Obtain
ื
่
an IP address automatically ในหนาจอ TCP/IP Properties กจะ Broadcast Message DHCP
็
ึ
่
ิ
DISCOVER ออกไป ซงจะไปถึงยังคอมพวเตอรทุกเครื่องใน Network Segment และยังสงหมายเลข
แอดเดรส MAC ของการดเน็ตเวิรก และชื่อแบบ NetBIOS ของเครื่องคอมพิวเตอร
2) DHCP Offer เครื่อง DHCP Server บอก Client วาตัวเองสามารถจัดสรร IP
Address ใหได Message ของเซิรฟเวอรเครื่องใดไปถึง Client กอนก็จะถูกเลือกใชงานโดยไคลเอนต
(First-Come-First-Serve)
3) DHCP Request เปนการตอบรับไปยังเซิรฟเวอร ตอนนี้ไคลเอนตเองก็ยังไมไดรับไอ
พีแอดเดรส ดังนั้นการตอบกลับนี้ก็ยังจําเปนตองเปนแบบ “Broadcast”
ระบบจัดการคอมพิวเตอรศูนยการเรียนรูดวยตนเองดวย FOG Project