Page 39 - 5-14opac
P. 39
32
3.8 โครงงานพิเศษ “ค”
3.9 แผนงานพิเศษ “ผ”
3.10 สารนิพนธ์ “สพ”
3.11 วิทยานิพนธ์ “วพ”
ั
ื่
4. เลขหมู่ หมายถึง สัญลักษณ์ที่ก าหนดขึ้นเพอแสดงเนื้อหาหรือวิธีการประพนธ์ของ
หนังสือแต่ละเล่ม การก าหนดเลขหมู่แตกต่างกันไปตามระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ
5. สถานภาพ หมายถึง สถานภาพของหนังสือ ณ ปัจจุบัน ถูกยืมออกไปหรืออยู่บนชั้น
การจัดหมวดหมู่หนังสือ
ี้
การจัดหมวดหมู่หนังสือใช้ระบบทศนิยมดิวอ (Dewey Decimal Classification System
ซึ่งอย่อว่า D.C.) ใช้ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์แทนชนิดของหนังสือ ท าให้เข้าใจง่าย แผนการแบ่งหมวด
ี้
หนังสือแบบทดศนิยมของดิวอ (D.C) แบ่งตามล าดับจากหมวดใหญ่ไปหาหมวดย่อย คือ หมวดใหญ่
หมู่ และหมู่ย่อย (พวา พันธุ์เมฆา, 2551, น.9-10)
หมวดใหญ่
การแบ่งหมวดหมู่หนังสือระดับที่ 1 แบ่งตามประเภทของสรรพวิชาใหญ่ ๆ 10 หมวดใหญ่
คือ 000 100 200 300 400 500 600 700 800 900 โดยดิวอี้ก าหนดให้เลขหลักร้อยทั้งสิ้น ต่อไป
์
นี้เป็นสัญลักษณของเนื้อหาของหนังสือ 10 หมวดใหญ่ อธิบายแต่ละหมวด ดังนี้
ี
หมวด 000 เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือทั่วไป หนังสือประเภทที่ม เนื้อหาหลากหลายวิชา
ร่วมกันอยู่ในเล่มเดียว ดิวอี้ให้รวมไว้ในหมวดนี้ได้แก่ หนังสือสารานุกรมทั่วไป วารสารทั่วไป หนังสือ
บรรณานุกรมและหนังสือหายากต่าง ๆ เป็นต้น
หมวด 100 เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือที่เป็นปรัชญาและจิตวิทยา เป็นหมวดที่ว่าด้วยการ
ที่มนุษย์คิดถึงตนเอง คิดหาเหตุผลเกี่ยวกับการเกิด การอยู่ ความคิด และการค้นหา เหตุผลนั้น
หมวด 200 เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือที่เป็นศาสนา เป็นหมวดที่มนุษย์มีความเชื่อในพระ
ผู้เป็นเจ้า สิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือแม้บุญกรรมต่าง ๆ ว่าเป็นผู้บันดาลทุกอย่างให้เป็นไป ความเชื่อนี้เป็นที่มา
ของศาสนา ดิวอี้จึงจัดหนังสือที่เกี่ยวด้วยศาสนาต่าง ๆ ในโลกไว้ในหมวดนี้
หมวด 300 เป็นสัญลักษณ์ของหนังสื่อที่เป็นสังคมศาสตร์การที่มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นหมู่พวก
ในสังคม ย่อมมีกฎระเบียบ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคมนั้น หนังสือที่มีเนื้อหา
ทางสังคมศาสตร์จึงจัดอยู่ในหมวดนี้
หมวด 400 เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือที่เป็นภาษาศาสตร์เกิดจากการที่มนุษย์อยู่ร่วมกัน
เป็นหมู่เป็นพวกในสังคม จ าเป็นต้องมีสื่อความรู้สึกนึกคิดที่จะใช้ถ่ายทอด เพอก่อให้เกิดความเข้าใจ
ื่
ซึ่งกันและกัน สื่อดังกล่าวก็คือภาษา ดิวอจึงจัดให้หมวดที่สี่เป็นหมวดส าหรับทุกภาษาในโลก
ี้
หมวด 500 เป็นสัญลักษณ์ของหนังสือที่เป็นวิทยาศาสตร์การที่มนุษย์มีความสนใจ
สิ่งแวดล้อมตน มีการศึกษาหาเหตุผลและความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น น้ า ไฟ ดวงอาทิตย์ ฯลฯ
จนกระทั้งกลายเป็นวิทยาศาสตร์ ดังนั้น ดิวอจึงก าหนดให้เป็นหนังสือวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์
ี้
(Pure Sciences) เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และคณิตศาสตร์