Page 7 - 5-8annualbudget
P. 7

บทที่ 1
                                                             บทน ำ


                       1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ

                              การจัดทํางบประมาณในแบบปัจจุบันได้เริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศองกฤษประมาณ
                                                                                             ั
                       คริสศตวรรษที่ 16-17  ซึ่งเป็นสมัยที่สภาผู้แทนราษฎรได้ประสบความสําเร็จในการสงวนอานาจที่
                                                                                                   ํ
                       จะอนุมัติรายได้และรายจ่ายของรัฐบาลซึ่งจะเห็นได้ว่าการจัดทํางบประมาณในแบบปัจจุบันมี

                       ความสัมพันธ์กับวิวัฒนาการการปกครอง ต่อมาได้มีการนําแบบอย่างมาจัดทํางบประมาณขึ้นในหลาย
                       ประเทศ สําหรับประเทศไทยการจัดทํางบประมาณนั้น รัฐบาลได้เริ่มทําขึ้นก่อนและต่อมาได้ขยาย
                       ขอบเขตไปถึงองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น สถานศึกษาและหน่วยงานอื่นๆ ทั้งของรัฐบาลและเอกชน

                              ความหมายของงบประมาณจะแตกต่างกันออกไปตามกาลเวลาและลักษณะการให้
                       ความหมายของนักวิชาการแต่ละด้าน ซึ่งมองงบประมาณแต่ละด้านไม่เหมือนกัน เช่น
                       นักเศรษฐศาสตร์ มองงบประมาณในลักษณะของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จํากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
                       นักบริหารจะมองงบประมาณในลักษณะของกระบวนการหรือการบริหารงบประมาณให้เกิด
                       ประสิทธิภาพสูงสุด โดยบรรลุเป้าหมายของแผนงานที่วางไว้

                                                                                       ั
                              ความหมายดั้งเดิม งบประมาณ หรือ Budget  ในความหมายภาษาองกฤษแต่เดิม หมายถึง
                       กระเป๋าหนังสือใบใหญ่ที่เสนาบดีคลังใช้บรรจุเอกสารต่างๆ ที่แสดงถึงความต้องการของประเทศและ
                       ทรัพยากรที่มีอยู่ในการแถลงต่อรัฐสภา ต่อมาความหมายของ Budget ก็ค่อยๆ เปลี่ยนจากตัวกระเป๋า

                       เป็นเอกสารต่างๆ ที่บรรจุในกระเป๋านั้น
                               สรุปความหมายของงบประมาณ หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จ ซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงินแสดง
                       โครงการ การดําเนินงานทั้งหมดในระยะหนึ่ง รวมถึงการกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการ
                       และค่าใช้จ่าย ตลอดจนทรัพยากรที่จําเป็นในการสนับสนุน การดําเนินงานให้บรรลุตามแผนนี้ย่อม

                       ประกอบ ด้วยการทํางาน 3 ขั้นตอน คือ (1) การจัดเตรียม (2) การอนุมัติและ (3) การบริหาร
                              ความสําคัญของงบประมาณ งบประมาณเป็นเครื่องมือสําคัญในการควบคุมต้นทุนโครงการ
                       ตลอดจนแผนงานตั้งแต่ในระดับโครงการจนถึงการบริหารจัดการบริษัท และใช้เป็นเครื่องมือของฝ่าย
                       บริหาร ทําให้มีประสิทธิภาพในการวางแผนทางการเงินเนื่องจากเป็นแผนงานที่แสดงออกในลักษณะ

                       เชิงปริมาณจะที่เกิดขึ้นในเวลาที่กําหนด เช่น รายสัปดาห์ รายเดือน รายไตรมาส หรือ รายปี
                       โดยทั่วไปงบประมาณจะจัดทําขึ้นปีละครั้ง จึงเรียกว่า งบประมาณประจําปี โดยปีงบประมาณมักจะ
                       เป็นไปตามรอบบัญชีของบริษัท เช่น เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1  มกราคมและสิ้นสุดในวันที่ 31  ธันวาคม
                       เป็นต้น ส่วนของภาครัฐจะเริ่มปีงบประมาณในวันที่ 1  ตุลาคม และสิ้นสุดปีงบประมาณในวันที่

                       30 กันยายนของปีถัดไป งบประมาณจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวางแผน กําหนดวัตถุประสงค์ และ
                       เป้าหมายในการดําเนินงานทางธุรกิจ นอกจากนี้ยังสามารถนํางบประมาณไปใช้ในการควบคุม
                       แผนงานก็จะช่วยให้ฝ่ายบริหารสามารถติดตามผลการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงานได้อย่างดี

                                                                                                  ี
                                             ั
                              อย่างไรก็ตามลําพงเพยงงบประมาณเงินแผ่นดินที่ทางรัฐบาลได้จัดสรรให้มาไม่เพยงพอต่อ
                                                ี
                       การบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมคลพระนคร อนเนื่องจากเงินงบประมาณมี
                                                                                 ั
                                                                         ื่
                       จํากัดจําเป็นต้องกระจายงบประมาณไปยังหน่วยงานต่างๆ เพอให้การบริหารและการดําเนินงานของ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12