Page 21 - Compression Molding Machine 67
P. 21

รูปที่ 2.2 ตัวอย่างขวดบรรจุน ้าดื่มจากพลาสติก PETE หรือ PET (ที่มา: ภาพถ่ายของโครงการฯ)





               2.2 เหตุบ่งชี้ปัญหำในประเทศไทยและต่ำงประเทศ


                      จากผลงานวิจัยของศูนย์ปฏิบัติการอุทยานแห่งชาติทางทะเล ที่ 3 จังหวัดตรัง ได้ค้นพบโดยนักวิจัยสิ่งแวดล้อม

               ทางทะเลที่น าเสนอข้อมูลอันหนึ่งที่น่าตระหนักส าหรับคนไทยทุกคนเมื่อปี พ.ศ.2560 พบว่ามีเศษพลาสติกอยู่ใน

               กระเพาะปลาทูทจับได้ในทะเลอันดามัน จากปลาทูที่คนนิยมบริโภคเพราะสามารถน าไปประกอบอาหารได้หลายหลาก
                             ี่
               แล้วแต่พ่อครัวหรือแม่ครัวที่ปรุงอาหาร โดยปลาทูจาก 60 ตัวอย่างที่มีขนาดโดยเฉลี่ย 66.53 กรัม มีความยาวเฉลี่ย

               17.46 เซนติเมตร มีเศษพลาติกที่เรียกว่าไมโครพลาสติกในกระเพาะเฉลี่ย 78.04 ชิ้นต่อตัวที่มีลักษณะเป็นแท่งสีด า

               เส้นใย และกลิตเตอร์ โดยมีการพบไมโครพลาสติกจ านวนมากเป็นชิ้นสีด า มีสัดส่วนร้อยละ 33.96 และจากงานวิจัย

               ก่อนหน้าบริเวณหาดเจ้าไหมพบว่าในพื้นที่ประมาณ 1,200 ตารางเมตรมีแก้วพลาสติกเป็นอันดับหนึ่ง และยังสามารถ

               พบขยะที่มาจากประเทศเพื่อนบ้านในช่วงฤดูมรสุมอีกด้วย ไมโครพลาสติกมีขนาดประมาณ 1 nm. – 5 mm. การ

               ปนเปื้อนดังรูปที่ 2.3 ในปลาทูนั้นเมื่อมองย้อนมาที่ตัวมนุษย์ในออสเตรียได้มีการทดสอบจากอุจจาระของมนุษย์มาหา

               สิ่งปนเปื้อนพลาสติกปรากฏว่ามีสิ่งปนเปื้อนเช่นกันดังนั้นจึงเป็นที่น่าพะวงว่าในการบวนการของของการรับประทาน
               อาหารมีสิ่งแปลกปลอมเหล่านี้ปนเปื้อนอยู่โดยทั่วไป และเป็นข่าวร้ายที่ว่าไมโครพลาสติกอาจไม่เป็นพิษต่อมนุษย์


               โดยตรง แต่สามารถเข้าสู่ผนังเซลล์ได้และไมโครพลาสติกอยู่ในแหล่งน ้าสามารถดูดซึมสารพิษจากแหล่งน ้าได้และถ้า
               สัตว์ทะเลกลืนกินเข้าไปแล้วมนุษย์ใช้สัตว์ทะเลเหล่านั้นเป็นอาหารก็เป็นวงจรเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ตามห่วงโซ่อาหารก็น่า

               เป็นห่วงอย่างยิ่งต่อสุขภาพของคนเรา






                                                                                                              18
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26