Page 2 - cottonproduct
P. 2
ค ำน ำ
ุ
คู่มือองค์ความรู้เล่มนี้ได้รับทุนอดหนุนการท ากิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุน
การวิจัยและนวัตกรรม ทุนท้าทายไทยเพื่อจัดการความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ เชิงชุมชน
สังคม (ด้านการพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมชุมชน) ประจ าปี 2564 จาก ส านักงานการวิจัย
่
ุ
แหงชาติ (วช.) จัดท าโดยคณะอตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยเนื้อหาคู่มือองค์ความรู้เล่มนี้ประกอบไปด้วยเนื้อหา
เกี่ยวกับเทคนิคการฟอก ย้อม พิมพ์ ตกแต่งส าเร็จ และการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้าย
ทอมือ โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการเตรียมเส้นด้ายฝ้าย (การก าจัดสิ่งสกปรก การฟอกขาว
และการก าจัดแป้ง) การย้อมสีเส้นด้ายฝ้ายด้วยสีเคมี (สีรีแอคทีฟ และสีไดเร็กท์) และสี
้
จากธรรมชาติใหได้มาตรฐานตามหลักวิชาการ เทคนิคการตกแต่งส าเร็จใหผ้าฝ้ายทอมือ
้
้
มีสมบัติพิเศษ เช่น การตกแต่งนุ่ม การตกแต่งสะท้อนน้ า การตกแต่งใหผ้ามีกลิ่นหอม
ป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการน าองค์ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบลวดลาย การสร้าง
ลวดลาย และการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายทอมือให ้
เป็นที่ต้องการของตลาด ซึ่งคู่มือเล่มนี้น ามาใช้ส าหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการ
“การจัดการความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีการฟอก ย้อม พิมพ์ การออกแบบ และการ
สร้างผลิตภัณฑ์ฝ้ายทอมือ สู่เชิงพาณิชย์” ซึ่งด าเนินการ ณ จังหวัดอบลราชธานี ศรีสะ
ุ
เกษ และจังหวัดยโสธร นอกจากจากนี้คู่มือเล่มนี้ยังมีประโยชน์ต่อวิสาหกิจชุมชนใน
ประเทศไทยที่ต้องการพัฒนาผ้าฝ้ายให้ได้คุณภาพ และเป็นที่ต้องการของตลาดต่อไป
้
คณะผู้จัดท ามุ่งหวังที่จะพัฒนาองค์ความรู้และต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นใหเกิด
ประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่าง
ยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการผลิตผ้า
ฝ้ายทอมือ ซึ่งครอบคลุมถึงการสร้างมูลค่าผลผลิตทางด้านผ้าฝ้ายทอมืออีกด้วย
คณะผู้จัดท า
มิถุนายน 2565