Page 57 - 10riskmanage
P. 57

5) ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของ

                                   อาจารย์และบุคลากร
                                6) ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก

                                7) ความเสี่ยงอนๆพจารณาความเสี่ยงอื่นๆ ที่แตกต่างไปจากนี้ได้ตามบริบทของหน่วยงานหาก
                                                 ิ
                                             ื่
                                   เป็นประเภทความเสี่ยงด้านอื่นๆ โปรดระบุประเภทความเสี่ยงนั้นด้วย
                           กำรระบุปัจจัยเสี่ยง
                           ช่องที่ (3) ปัจจัยเสี่ยง

                           (ให้กรอกปัจจัยเสี่ยง)
                                ให้หน่วยงานกรอกปัจจัยเสี่ยง/สาเหตุของความเสี่ยง โดยปัจจัยหรือสาเหตุของความเสี่ยงนั้น

               เป็นกระบวนการที่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ร่วมกันระบุปัญหาที่เกิดขึ้นที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงาน หรือ
                                             ื่
               เกี่ยวข้องกับโครงการ/กิจกรรม เพอให้ทราบถึงเหตุการณ์ที่เป็นปัจจัยของความเสี่ยง ที่อาจมีผลกระทบต่อการ
               บรรลุผลส าเร็จตามวัตถุประสงค์ และค านึงถึงสภาพแวดล้อมภายในหรือภายนอกหน่วยงาน หรือเป็นการระบุ

               สาเหตุของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากขั้นตอนการปฏิบัติงาน


                           ช่องที่ (4) กำรวิเครำะห์ควำมเสี่ยง
                           (ให้เตรียมกำรกรอกข้อมูลในช่อง 4.1.1 – 4.1.4)
                                                                                                 ิ
                                                                                              ื่
                                การวิเคราะห์ผลกระทบความเสี่ยง หรือ การประเมินความเสี่ยง เพอพจารณาระดับ
               ความเสียหายที่อาจจะเกิดจากความเสี่ยงแต่ละประเภท โดยประเมิน 2 มิติ คือ มิติด้านโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
               (Likelihood) และมิติระดับความรุนแรงของผลกระทบ (Impact)


                           ช่องที่ (4.1) กำรประเมินควำมเสี่ยง
                           (ให้เตรียมกำรกรอกข้อมูลในช่อง 4.1.1 – 4.1.4)
                                การประเมินความเสี่ยงเป็นการน าความเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงที่ระบุไว้มาประเมินโอกาสที่จะ
               เกิดความเสี่ยง และประเมินระดับความรุนแรงหรือมูลค่าความเสียหายจากความเสี่ยง เพอให้เห็นถึงระดับของ
                                                                                           ื่
               ความเสี่ยงที่แตกต่างกัน ท าให้สามารถก าหนดการควบคุมความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้หน่วยงาน
               สามารถวางแผนและจัดสรรทรัพยากรได้อย่างถูกต้องภายใต้งบประมาณ ก าลังคน หรือเวลาที่มีจ ากัด โดยอาศัย
               เกณฑ์มาตรฐานที่ก าหนด
                                การก าหนดเกณฑ์การประเมินมาตรฐานเป็นการก าหนดเกณฑ์ที่จะใช้ในการประเมิน
               ความเสี่ยง ได้แก่ ระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Likelihood) ระดับความรุนแรงของผลกระทบ(Impact) และ
               ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯของหน่วยงาน จะต้องก าหนดเกณฑ์
               ของหน่วยงานขึ้น ซึ่งสามารถก าหนดเกณฑ์ได้ทั้งเกณฑ์ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อมูล
                                                ิ
               สภาพแวดล้อมในหน่วยงานและดุลยพนิจการตัดสินใจของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯ และผู้บริหารของ
               หน่วยงาน
                                เกณฑ์ในเชิงปริมาณ เหมาะกับหน่วยงานที่มีข้อมูลตัวเลขหรือจ านวนเงินมาใช้ในการวิเคราะห์
                         ี
               อย่างพอเพยงส าหรับหน่วยงานที่มีข้อมูลเชิงพรรณนาไม่สามารถระบุเป็นตัวเลขหรือจ านวนเงินที่ชัดเจนได้ ก็ให้
               ก าหนดเกณฑ์ในเชิงคุณภาพซึ่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯได้ก าหนดแนวทางการพจารณาถึงโอกาสในการ
                                                                                         ิ
                                                             46
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62