Page 80 - 3-13erpsystem
P. 80
66
1. เจ้าหน้าที่งานงบประมาณ Click ที่สัญลักษณ์
2. ระบุในช่องมิติที่ต้องการจะกรอกขอมูลเพื่อใช้ในการตรวจสอบ ในที่นี้ผู้เขียนแนะน าให้
้
กรอกข้อมูลโดยใช้มิติกิจกรรม เพอเจ้าหน้าที่งานงบประมาณสะดวกในการตรวจสอบ
ื่
การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นรายหน่วยงาน ตัวอย่างการกรอกข้อมูลโดย
กิจกรรม เช่น 62-1-101* หน่วยงานคณะศิลปะศาสตร์ 62-1-90404* หน่วยงานกอง
คลัง หรือ 62-1-90409* หน่วยงานส านักงานอธิการบดี เป็นต้น
ปัญหาอุปสรรค
ส าหรับข้อมูลการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายในระบบบริหารทรัพยากรองค์กร ERPเมนู
“อินเทอร์เฟส” หน้าต่างรายการสมุดรายวันงบประมาณ จะใช้รหัสในการตรวจสอบข้อมูลอาจท าให้
เจ้าหน้าที่งานงบประมาณไม่ทราบถึงความหมายของรหัสในมิติต่าง ๆ ท าให้การตรวจสอบข้อมูล
ค่อนข้างยากและเกดความสับสน
ิ
แนวทางการแก้ไข
เบื้องต้นเจ้าหน้าที่งานงบประมาณควรจะต้องมีสมุดจดบันทึกค าอธิบายความหมายของ
รหัสต่างๆ ในระบบบริหารทรัพยากรองค์กร ERP ที่มีความส าคัญที่ใช้ในการตรวจสอบข้อมูลการ
จัดสรรงบประมาณรายจ่ายเช่น รหัสแหล่งเงิน รหัสศูนย์ต้นทุน เป็นต้น เนื่องจากเมนู “อินเทอร์เฟส”
ี
หน้าต่างรายการสมุดรายวันงบประมาณ เป็นเพยงฐานข้อมูลที่ใช้ส าหรับส่งผ่านข้อมูลระหว่าง
ระบบงานวางแผนและบริหารงบประมาณ BPM มายังระบบบริหารทรัพยากรองค์กร ERP ซึ่งถือเป็น
ข้อจ ากัดระหว่างระบบงานทั้ง 2 ระบบงาน
ปัญหาอุปสรรค
รหัสกิจกรรมในส่วนของศูนย์ต้นทุน ไม่สอดคล้องกับรหัสศูนย์ต้นทุน
แนวทางการแก้ไข
เนื่องด้วยหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในระบบบริหาร
ทรัพยากรองค์กร มีรหัสศูนย์ต้นทุน ทั้งหมด 8 ต าแหน่ง เช่น รหัสศูนย์ต้นทุนหน่วยงานกองคลัง
ึ
90404000 หรือรหัสศูนย์ต้นทุนหน่วยงานส านักงานอธิการบดี 90409000 เป็นต้น ซ่งรหัสกิจกรรม
ในระบบบริหารทรัพยากรองค์กรประกอบไปด้วยรหัสทั้งหมด 8 ต าแหน่ง ดังตัวอย่างต่อไปนี้
XX – X – XXXXXXXX – X – XX หรือ 62 – 1 – 90404000 – 1 – 01 ซึ่งต าแหน่งที่ 3 ของรหัส