Page 17 - 3-5studentloan
P. 17
3
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.3.1 ให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานแทนกันได้
1.3.2 การปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน
1.3.3 ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าควรปฏิบัติงานอย่างไร เมื่อไหร่ กับใคร
1.3.4 เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรม
1.3.5 เป็นเอกสารอ้างอิงในการทำงาน
1.3.6 ลดข้อผิดพลาดจากการทำงานที่ไม่เป็นระบบ
1.4 ขอบเขตคู่มือ
ิ
การปฏิบัติตามคู่มือการใช้ระบบงาน ระบบการให้กู้ยืมเงินผ่านอนเทอร์เน็ต (e-Student
ื่
ื่
loan) เพอให้ผู้ปฏิบัติงานประกอบการดำเนินงานตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ เพอให้นักศึกษา
ปฏิบัติได้ถูกต้องและรวดเร็วในการกู้ยืมเงินกองทุนให้กู้ยืมเพอการศึกษา ประจำปีการศึกษาที่ 1 และ
ื่
ประจำปีการศึกษาที่ 2 โดยครอบคลุมถึงการลงทะเบียนขอรหัสผ่าน การเข้าสู่ระบบงาน แบบคำขอ
กู้ยืมเงิน สัญญากู้ยืมเงิน จนถึงบันทึกจำนวนเงินค่าเล่าเรียนและค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องฯ แบบคำยืนยัน
ขอกู้ยืมเงิน การสอบถามข้อมูล การแก้ไขข้อมูล และการ Reset ผ่านของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน/
ผู้รับผิดชอบในการดำเนินการเรื่องนี้
1.5 คำจำกัดความเบื้องต้น
ภาคการศึกษาที่ 1 หมายถึง มิถุนายน ถึง ตุลาคม
ภาคการศึกษาที่ 2 หมายถึง พฤศจิกายน ถึง มีนาคม
ื่
ผู้กู้ยืมเงิน หมายถึง ผู้กู้ได้ไปขอกู้เงินจำนวนหนึ่งกับผู้ให้กู้ (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพอ
การศึกษา) และมีการทำสัญญา กำหนดระยะเวลาที่จะชำระหนี้อย่างแน่นอน โดยจะตกลงว่าจะผ่อน
ชำระเป็นงวดๆ หรือจ่ายเต็มจำนวนเลยก็ได้ ซึ่งผู้ให้กู้จะสามารถคิดดอกเบี้ยได้ตามอัตราที่ตกลงกัน
ผู้ค้ำประกันต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ หมายถึง บิดา มารดา หรือผู้ใช้อำนาจปกครอง หรือ
ิ
คู่สมรส หรือบุคคลที่ประกอบอาชีพมีรายได้น่าเชื่อถือตามที่คณะกรรมการพจารณาให้กู้ยืมประจำ
สถานศึกษากำหนดให้เป็นผู้ค้ำประกันได้
คุณสมบัติของผู้กู้ยืมเงิน หมายถึง นักเรียน/ นักศึกษาที่เป็นผู้กู้ยืมเงินมีลักษณะครบถ้วน
ตามที่กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษากำหนด
คุณสมบัติของผู้รับรองรายได้ หมายถึง เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับ
บำเหน็จบำนาญ ตามพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวสมาชิกสภาเขต สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร
หรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และ หัวหน้าสถานศึกษาที่ผู้ขอกู้ยืมศึกษาอยู่