Page 22 - 4-7database
P. 22
15
ุ
การจัดท าฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมส าหรับห้องสมุดสถาบันอดมศึกษาไทย (UC-TAL :
Union Catalog for Thai Academic Libraries) มีการตรวจสอบความถูกต้องของการลงรายการ
ระเบียนบรรณานุกรมโดยใช้โปรแกรม MARC Analyzer และ UC Connexion Client ซึ่งมีการ
ิ
ก าหนดกฎเกณฑ์การตรวจสอบโดยพจารณาตามระดับความจ าเป็นของการลงรายการเขตข้อมูลหลัก
และเขตข้อมูลย่อยอางองตามมาตรฐาน MARC 21 โดยระบุระดับความจ าเป็นในการลงรายการ
ิ
้
เป็น 3 ระดับ ได้แก
่
1) A (Mandatory if Applicable) คือ จ าเป็นต้องระบุหากมีข้อมูลปรากฏ
2) M (Mandatory) คือ จ าเป็นต้องระบุใน 1 ทุกระเบียน
3) O (Optional) คือ ระบุหรือไม่ระบุก็ได้
ทั้งนี้เงื่อนไขในการตรวจสอบระเบียนของ UC-TAL จ าแนกเป็น 3 ส่วน ตามกลุ่มเขตข้อมูลที่
ก าหนดใช้ในการลงรายการได้แก่ 1) ป้ายระเบียน (Leader) 2) เขตข้อมูล 008 (Fixed-Length
Data Elements) และ3) เขตข้อมูลความยาวไม่คงที่ (Variable Data Fields) ซึ่งเงื่อนไขในการ
ตรวจสอบระเบียนจะครอบคลุมตามหลักการลงรายการที่ก าหนดเป็นมาตรฐานในการท างาน
ื่
และบรรณารักษ์ผู้ท ารายการควรให้ความส าคัญ เพอให้ได้ระเบียนที่มีมาตรฐานเมื่อน าเข้าสู่
ฐานข้อมูลฯ ซึ่งจะท าให้ข้อมูลสหบรรณานุกรมมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ตามเงื่อนไขต่าง ๆ ดังนี้
3.1.3 เงื่อนไขการตรวจสอบความถูกต้องของการลงรายการ LEADER และข้อแนะน า
ในการลงรายการ
3.1.3.1 เงื่อนไขการตรวจสอบความถูกต้องของการลงรายการ LEADER
ดังตารางที่ 3-1
ตารางที่ 3-1 สรุปเงื่อนไขในการตรวจสอบความถูกต้องของการลงรายการ Leader (เครื่องหมาย # แทนค่าว่าง)
ระดับความ
กลุ่ม โครงสร้าง /
ู
ข้อมล เขตข้อมูล จ าเป็นของการ การตรวจสอบ เงื่อนไขการตรวจสอบ
ท ารายการ
LEADER ต าแหน่งที่ 05 ระบุหรือไม่ระบุ ตรวจสอบความ ตรวจสอบตามโครงสร้าง
ม
Record status ก็ได้ ถูกต้องของการ าตรฐาน MARC21 หากมี
ลงข้อมูล ซึ่งค่าที่ การระบุค่าในส่วนนี้ต้องเป็น
สามารถเป็นไป ค่าที่ถูกก าหนดตามมาตรฐาน
ได้คือ a, c, d, ที่มีเท่านั้น (ให้เป็นค่าว่างได้)
n, p