Page 4 - 7-4edoc
P. 4
บทที่ 1
บทน ำ
1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ
ปัจจุบันปริมาณเอกสารของส่วนราชการต่าง ๆ มีปริมาณเพมขึ้นอย่างมาก ท าให้เกิดปัญหาต่อ
ิ่
การจัดเก็บเอกสาร การลงทะเบียนรับ-ส่งหนังสือราชการจากหน่วยงานต่าง ๆ ผู้ปฏิบัติงานสารบรรณต้อง
ลงทะเบียนรับ-ส่งหนังสือราชการด้วยการเขียนบันทึกลงในสมุดทะเบียนหนังสือรับ / สมุดทะเบียนหนังสือ
ส่ง เมื่อต้องการค้นหา ตรวจสอบเอกสารล่าช้าต้องใช้เวลาในการค้นหาจากสมุดทะเบียนหนังสือรับ-ส่ง
ส านักประกันคุณภาพ สังกัดส านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จึงได้มีการ
ปรับเปลี่ยนการลงบันทึกในทะเบียนหนังสือรับ-ส่งระบบสารบรรณ เพอให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน
ื่
ที่มีหลักเกณฑ์และปฏิบัติร่วมกนอย่างมีประสิทธิภาพ ลดขั้นตอน สะดวก รวดเร็ว โดยการน าวิธีการทาง
ั
เทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับระบบให้เหมาะสมกับงานที่รับผิดชอบ และน าทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร และถูกต้องตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526
และ พ.ศ. 2548
ิ
การบริหารงานสารบรรณด้านการลงทะเบียนรับ-ส่งหนังสือระบบสารบรรณอเล็กทรอนิกส์
เป็นขั้นตอนที่ส าคัญอกขั้นตอนหนึ่งในการติดต่อสื่อสารประกอบด้วย สาร ผู้ส่งสารและผู้รับสาร
ี
ื่
เจ้าหน้าที่สารบรรณจะต้องเป็นสื่อในการน าสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร เพอเข้าสู่กระบวนการ
ปรับเปลี่ยนไปสู่การท างานที่มีประสิทธิภาพ ลดขั้นตอนการท างานให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว
ประหยัดเวลาและมีความถูกต้อง โดยการน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับระบบการใช้งานให้ก้าวทันกับ
์
สถานการณในปัจจุบัน
จากความเป็นมาและความส าคัญดังกล่าว จึงเป็นที่มาในการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
เรื่อง การลงทะเบียนรับ-ส่งหนังสือระบบสารบรรณอเล็กทรอนิกส์ เพอการปฏิบัติงานอย่างมีขั้นตอนเพม
ิ่
ิ
ื่
ประสิทธิภาพ มีความรวดเร็วและประหยัดในการใช้ทรัพยากร (กระดาษ) ลดปริมาณการใช้ในแต่ละปี
ื่
คู่มือฉบับนี้จึงเขียนขึ้นเพอให้บุคลากรที่ท าหน้าที่รับผิดชอบงานด้านสารบรรณ สามารถน ามาใช้เป็น
มาตรฐานในการปฏิบัติงานที่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน
คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง การลงทะเบียนรับ - ส่งหนังสือระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ส านักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร