Page 15 - KMeBookManual
P. 15
11
บทที่ 3
หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงาน
3.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีดังต่อไปนี้
ในการปฏิบัติงานตามคู่มือ เรื่อง การจัดท าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (eBook) ของศูนย์การจัดการความรู้
่
มีแนวความคิดว่า eBook เป็นนวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงวิธีการอานและเข้าถึงหนังสือที่มีอยู่เดิม สร้างสื่อที่มี
ความน่าสนใจและหลากหลาย ส่งผลต่อการศึกษาเรียนรู้ ให้สามารถเรียนรู้ได้ง่ายและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
ิ
ิ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องของหนังสืออเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย วิวัฒนาการของหนังสืออเล็กทรอนิกส์
ิ
ความแตกต่างของหนังสืออเล็กทรอนิกส์กับหนังสือทั่วไป และแนวโน้มของหนังสืออเล็กทรอนิกส์ในอนาคต
ิ
โดยมีรายละเอียดดังนี้
ิ
3.1.1 วิวัฒนาการของหนังสืออเล็กทรอนิกส์
แนวความคิดเกี่ยวกับหนังสืออเล็กทรอนิกส์เกิดขึ้นภายหลัง ปี ค.ศ. 1940 โดยปรากฏใน
ิ
ั
นวนิยายวิทยาศาสตร์ ต่อมาได้มีการพฒนาโดยน าเทคโนโลยีคอมพวเตอร์เข้ามาช่วยสแกนหนังสือ
ิ
จัดเก็บข้อมูลเป็นแฟมภาพตัวหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และน าแฟ้มภาพตัวหนังสือมาผ่านกระบวนการแปลงภาพ
้
ิ
ื่
เป็นข้อความด้วยการท า OCR (Optical Character Recognition) โดยใช้โปรแกรมคอมพวเตอร์เพอแปลง
ภาพตัวหนังสือให้เป็นข้อความที่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ การถ่ายทอดข้อมูลจะถ่ายทอดผ่านทางแป้นพิมพและ
์
ประมวลผลออกมาเป็นตัวหนังสือและข้อความด้วยคอมพวเตอร์ ดังนั้นหน้ากระดาษจึงเปลี่ยนรูปแบบไปเป็น
ิ
แฟมข้อมูลแทน ทั้งยังมีความสะดวกต่อการเผยแพร่และจัดพมพเป็นเอกสาร (Documents printing)
ิ
้
์
ท าให้รูปแบบของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยุคแรก ๆ มีลักษณะเป็นเอกสารประเภท .doc .txt .rtf และ .pdf ไฟล์
ั
เมื่อมีการพฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ข้อมูลต่าง ๆ จึงถูกออกแบบและตกแต่ง
่
ในรูปของเว็บไซต์ โดยปรากฏในแต่ละหน้าของเว็บไซต์ซึ่งเรียกว่า "web page" ผู้อานสามารถเปิดดูเอกสาร
เหล่านั้นได้ด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (Web browser) ซึ่งเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถแสดงผลข้อความ
ภาพ และการปฏิสัมพันธ์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ต่อมาเมื่ออินเทอร์เน็ตได้รับความนิยมมากขน บริษัท ไมโครซอฟท์ ได้ผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ึ้
ื่
เพอให้ค าแนะน าในรูปแบบ HTML Help ขึ้นมา มีรูปแบบของไฟล์เป็น .CHM โดยมีตัวอานคือ Microsoft
่
Reader และหลังจากนั้นมีบริษัทผู้ผลิตโปรแกรมคอมพวเตอร์จ านวนมาก ได้พฒนาโปรแกรมจนกระทั่ง
ั
ิ
สามารถผลิตเอกสารอเล็กทรอนิกส์ออกมาเป็นลักษณะเหมือนกับหนังสือทั่วไป กล่าวคือ สามารถแทรก
ิ
ข้อความ แทรกภาพ จัดหน้าหนังสือได้ตามความต้องการของผู้ผลิตและที่พเศษกว่านั้นคือ หนังสือ
ิ
อิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ สามารถสร้างจุดเชื่อมโยงเอกสาร (Hyperlink) ไปยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอน ๆ ทั้งภายใน
ื่
ี
และภายนอกได้ อกทั้งยังสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ ลงไปในหนังสือได้ คุณสมบัติเหล่านี้
ไม่สามารถท าได้ในหนังสือทั่วไป
คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดท าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (eBook) ของศูนย์การจัดการความรู้