Page 94 - cottonproduct
P. 94
91
9.1.4 ปริมาณสารแขวนลอยในน้ า
ปริมาณสารแขวนลอยในน้ า คือปริมาณของสารที่ไม่ละลายน้ าที่เจือปนอยู่
ในน้ า แม้กระทั่งดินโคลนที่เลอปะปนทั่วไป ปริมาณสารแขวนลอยที่สูงเกินไปจะท า
ให้น้ ามีสภาพขุ่น ในการตรวจวัดคุณภาพน้ าทิ้งที่ปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ จึง
ก าหนดให้น้ าทิ้งที่ปล่อยสู่แหล่งน้ าสาธารณะมีค่าสารแขวนลอยในน้ าไม่เกิน 50
พีพีเอ็ม ( 50 ส่วนในล้านส่วน หรือ 50 มิลลิกรัมในน้ าปริมาตร 1 ลิตร)
9.1.5 ปริมาณสารที่ละลายอยู่ในน้ า
ปริมาณสารที่ละลายอยู่ในน้ า หมายถึงสารที่ละลายเป็นเนื้อเดียวกับน้ า
โดยมองไม่เห็นเป็นลักษณะแขวนลอย ยกตัวอย่างเช่นน้ าทะเล มีปริมาณสารที่
ละลายอยู่สูงเนื่องจากมีเกลือละลายอยู่เป็นจ านวนมาก ปริมาณสารที่ละลายอยู่นี้
สามารถหาได้โดยการกรองเอาสารแขวนลอยออกไปก่อน จากนั้นน าน้ าที่ต้องการ
จะหาปริมาณสารที่ละลายอยู่มาท าการระเหยน้ าออกไป และค านวณหาปริมาณ
ิ
ของสารที่ละลายอยู่โดยพจารณาจากค่าน้ าหนักที่เหลือหลังระเหยน้ าออกไป
ส าหรับมาตรฐานของค่าปริมาณสารที่ละลายอยู่จะก าหนดไว้โดยพจารณาจาก
ิ
แหล่งน้ าสาธารณะด้วย โดยทั่วไปส าหรับแม่น้ า ล าคลอง จะก าหนดไว้ให้น้ าทิ้งมี
็
ปริมาณสารที่ละลายอยู่ก่อนจะทิ้งลงสู่แม่น้ าล าคลองไม่เกิน 2,000 พพเอม หรือ
ี
ี
ี
2,000 มิลลิกรัมต่อลิตร และค่านี้จะสูงขึ้นกว่านี้ อาจจะสูงถึง 5,000 พพเอม หาก
ี
็
แหล่งน้ าที่ปล่อยน้ าทิ้งลงมีปริมาณสารแขวนลอยสูง เช่น ทะเลเป็นต้น
9.1.5 ค่าบีโอดี (Biological oxygen demand, BOD)
ค่าบีโอดี (BOD) เป็นค่าที่แสดงถึงปริมาณของเสียที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ า ใช้
ิ
พจารณาจากการย่อยสลายตามธรรมชาติของแบคทีเรียชนิดใช้อากาศ ซึ่งมีอยู่
โดยทั่วไปอยู่แล้วในน้ าตามธรรมชาติ แบคทีเรียชนิดนี้จะท าการย่อยสลายของเสีย