Page 5 - silkvalue
P. 5

4

                                       บทน า

               ประทศไทยมีเกษตรกรผู้ประกอบอาชีพด้านการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม

        ประมาณ 74,182 ราย ปริมาณเส้นไหมที่ผลิตได้ประมาณ 432,843 กิโลกรัม โดย
        แยกเป็น ไหมหัตถกรรม (ไหมไทยพื้นบ้าน/ไหมไทยลูกผสม) และไหมอุตสาหกรรม

        โดยที่ปริมาณเส้นไหมหัตถกรรมของประเทศ มีมากกว่าไหมอุตสาหกรรมประมาณ
        2 เท่า ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 เป็นเกษตรกรอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

        ที่ด าเนินการผลิต ลักษณะรูปแบบการเลี้ยงไหมจะสามารถจ าแนกเป็นรูปแบบได้
        คือ (1) การเลี้ยงไหม เพื่อเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้แก่เกษตรกร โดยเป็นการเลี้ยง

        ไหมพันธุ์ไทย ไหมลูกผสม เพื่อการสาวไหมระดับครัวเรือน และ (2) การเลี้ยงไหม

        เพื่อเป็นอาชีพหลัก โดยเป็นการเลี้ยงไหมพันธุ์ลูกผสมต่างประเทศ เพื่อผลิตรังไหม
        สู่ภาคอุตสาหกรรม นอกจากทั้งสองแหล่งนี้แล้วยังมีการน าเข้าเส้นไหมจาก

        ต่างประเทศปีละประมาณ 300 ตัน คิดเป็นเงินประมาณ 300 ล้านบาท ประเทศ

        ส่วนใหญ่ที่ประเทศไทยน าเข้าเส้นไหมคือ จีน เวียดนาม และลาว
               อย่างไรก็ตามจากการลงพื้นที่เพื่อน างานวิจัย เรื่อง “การจัดการความรู้

        และถ่ายทอดเทคโนโลยีเทคนิคการย้อมสีครามจากธรรมชาติแบบใหม่บนเส้นด้าย

        ไหมและฝ้ายในเชิงพาณิชย์”[1] ไปท าการขยายผลเพิ่มเติม ซึ่งงานวิจัยดังกล่าว
        ได้รับงบประมาณจากส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2560  โดย

        ด าเนินการลงพื้นที่ และพบว่าผลิตภัณฑ์ผ้าไหม ประมาณร้อยละ 50 ยังไม่ได้
        คุณภาพ ตลอดจนพบปัญหาที่เกิดขึ้น ดังนี้

            1) ผ้าไหมมีการตกของสีในปริมาณมาก

            2) มีการใช้สีสังเคราะห์ที่เป็นอัตรายต่อสุขภาพ ในการย้อมสีเส้นไหม
               โดยเฉพาะกลุ่มสีอะโซ (Azo) ซึ่งสารดังกล่าวจะเป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็ง
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10