Page 50 - silkvalue
P. 50

49

               3) หลอดด้ายยืน
               การกรอเส้นด้ายยืนท าโดยสวมไจเส้นด้ายเข้ากับระวิง แล้วจึงเปลี่ยนถ่าย

        เส้นด้ายเข้าหลอดโดยใช้หลอดสวมเข้ากับเหล็กไน เมื่อหมุนวงล้อไน เหล็กไนก็จะ

        หมุนหลอดให้ดึงเส้นด้ายจากระวิงพันเข้าหลอดการกรอเส้นด้ายยืนเข้าหลอด
        มีลักษณะพิเศษตรงที่ ต้องกรอเส้นด้ายตรงหัวท้ายหลอดก่อน โดยเว้นหัวท้าย

        หลอดไว้ด้านละประมาณครึ่งนิ้ว แล้วจึงกรอเติมตรงกลางให้เต็ม หลอดด้ายต้องมี

        รูปร่างลักษณะลาดเอียงอย่างเหมะสม เพื่อป้องกันไม่ให้เส้นด้ายหลุดลุ่ยออกจาก
        หลอดได้ง่ายก่อนน าไปใช้งาน หรือหลุดลุ่ยขณะท าการเดินด้าย เพราะหลอดจะต้อง

        อยู่ในแนวตั้งตลอดเวลาบนราวตั้งหลอดของม้าเดินด้าย จ านวนหลอดด้ายต้อง

        เพียงพอกับการเดินด้ายเสมอ ในเชิงพาณิชย์นิยมกรอด้ายยืนด้วยเครื่อง


        5.2.4 การเดินด้าย
               การเดินด้าย คือ การจัดเรียงเส้นด้ายให้เข้ารูปโครงของผืนผ้าตามแนวด้าย

        ยืน มีวัตถุประสงค์เพื่อ

               1) ก าหนดความยาวของเส้นด้ายยืนที่ต้องการทอ
               2) ก าหนดจ านวนเส้นด้ายยืนทั้งหมดในหน้าผ้า

               3) จัดเส้นด้ายยืนให้เรียงกันเป็นระเบียบตามรูปโครงของผ้า
               4) ก าหนดสีเส้นด้ายยืน เช่น สีพื้น สลับเป็นคิ้วหรือเป็นลายทาง (stripes)

                                                                    ิ
        หรือสลับสีด้ายยืนเส้นต่อเส้น ก็สามารถก าหนดได้ตามต้องการจากการเดนด้าย
               อุปกรณ์ที่ใช้ส าหรับเดินด้าย คือ
               1) ราวส าหรับตั้งหลอดด้าย

               2) แคร่เดินด้าย

               3) ไม้จูงด้าย
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55