Page 51 - silkvalue
P. 51

50

               4) เชือกคั่นจ านวนเที่ยว
               5) ไม้เรียว

               6) ภาชนะส าหรับใส่ด้ายยืนที่เดินเสร็จแล้ว

               วิธีเดินด้าย คือ น าเส้นด้ายที่กรอเข้าหลอดเสร็จเรียบร้อยแล้ว และมี
        ปริมาณเพียงพอส าหรับการเดินด้ายมาใส่ไว้ในราวตั้งหลอด ดึงด้ายทุกเส้นออกจาก

        หลอดผูกไว้ที่หลัก (ภาพที่ 44) เริ่มต้นจูงเส้นด้ายด้วยไม้จูงด้ายน าไปพันกับหลักไป

        มาทั้งสองด้านจนครบความยาวตามต้องการ ก่อนถึงหลักคะนัดซึ่งเป็นหลักสุดท้าย
        จะต้องจับเส้นด้ายไขว้เข้ากับนิ้วหัวแม่มือ เรียกว่าจับคะนัด ส าหรับเที่ยวแรกต้อง

        จับเส้นด้ายคู่ส าหรับริมผ้าก่อน แล้วจึงจับคะนัดธรรมดาจนครบทุกเส้น แล้วใช้ไม้จูง

        ด้ายสอดแทนหัวแม่มือพร้อมกับจัดเส้นด้ายให้เรียงกันเรียบร้อยดี และจูงด้ายต่อไป
        จนถึงหลักคะนัด ถ่ายเส้นด้ายจากไม้จูงด้ายโดยสวมเส้นด้ายที่ไขว้กันอย่างดีแล้ว

        เข้ากับหลักคะนัด พร้อมกับใช้เชือกที่เตรียมคั่นเที่ยวที่หนึ่งไว้ จากนั้นจูงด้าย
        กลับมาตามเส้นทางเดิม จนมาบรรจบที่หลักเริ่มต้น เรียกว่าเดินด้ายครบ 1 เที่ยว

                         ี้
        การเดินด้ายตามวิธีน ด้าย 1 หลอดจะได้เส้นยืน 2 เส้น (1 ช่องฟันหว ) เพราะใช้วิธี
                                                                 ี
        เดินไป-กลับเส้นด้ายจึงทบเป็นเส้นคู่ ส่วนการเดินด้ายเที่ยวสุดท้ายเมื่อจับคะนัด
        แบบธรรมดาแล้ว ให้เหลือเส้นด้ายส าหรับจับริมผ้าเหมือนกับเที่ยวแรก แต่จับที

        หลังสุด เมื่อเดินด้ายครบจะได้เส้นด้ายที่เป็นส่วนของเส้นด้ายกลางผืนผ้า และได้
        เส้นด้ายริมผ้าอยู่ทั้งสองข้าง การเดินด้ายต้องมีการค านวณเพื่อให้ทราบว่าต้องเดิน

        ด้ายจ านวนกี่เที่ยว จึงจะได้จ านวนเส้นด้ายครบตามความกว้างของหน้าผ้า ส าหรับ

        การเดินด้ายสีเดียวใช้สูตรดังนี้ คือ

                   จ านวนช่องฟันหวีทั้งหมดในหน้าผ้า + จ านวนช่องฟันหวีริมผ้า    ข้าง
         จ านวนเที่ยว =
                                    จ านวนหลอดด้ายยืน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56