Page 86 - 4-13teachingfee
P. 86
81
กรณีที่ 2 ผู้สอนด ารงต าแหน่งรองอธิการบดี สอนในระดับปริญญาตรี 84 ชั่วโมง/ภาคการศึกษา
ตัวอย่างเกณฑ์การค านวณไม่ถูกต้อง การค านวณที่ถูกต้อง ค าอธิบาย
จ านวนชั่วโมงที่ 84 ชั่วโมง จ านวนชั่วโมงที่ 84 ชั่วโมง จากตัวอย่าง จากการค านวณ
สอนจริง สอนจริง จ านวนเงินค่าสอนเกินภาระงานสอน
เกณฑ์ 45 ชั่วโมง เกณฑ์ 45 ชั่วโมง ต้องใช้ ชั่วโมงเกินภาระงานสอน x
ชั่วโมงเกินภาระ 39 ชั่วโมง ชั่วโมงเกินภาระ 39 ชั่วโมง อัตราชั่วโมง (39 x400 ) แต่จาก
งานสอน (เบิกได้ไม่ งานสอน (เบิกได้ ตัวอย่าง ใช้เกณฑ์ 45 ชั่วโมง น ามา
เกิน 90) ไม่เกิน 90) ค านวณค่าสอนเกินภาระงานสอน
อัตราค านวณ 400 บาท อัตราค านวณ 400 บาท ท าให้ค านวณค่าสอนเกินภาระงานสอน
( 45 x 400 ) = (39 x 400 ) = ไม่ถูกต้อง
18,000 บาท 15,600 บาท
ค่าสอนเกินภาระ 18,000 บาท ค่าสอนเกินภาระ 15,600 บาท
งานสอน งานสอน
ที่มา : จากระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าสอนพิเศษและค่าสอนภาระงานสอนใน
สถานศึกษาและสถาบันอุดมศึกษา ข้อ 15 เอกสารแนบหมายเลข 4
4.4 การค านวณค่าสอนเกินภาระงานสอน กรณีห้องเรียนรวม
ตามที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครมีนโยบายให้คณะจัดการเรียนการสอน
ั
ห้องเรียนรวมส าหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคปกติ มหาวิทยาลัยจึงก าหนดอตรา หลักเกณฑ์ และ
วิธีการเบิกจ่ายค่าสอนห้องเรียนรวมจากเงินรายได้ โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้ ห้องเรียนรวมที่มีนักศึกษาตั้งแต่
่
51 คนขึ้นไป และผู้สอนมีภาระงานสอนครบตามที่กระทรวงการคลังก าหนด จึงจะมีสิทธิเบิกคาสอนเทียบ
หน่วยชั่วโมงสอนห้องเรียนรวมผู้เขียนได้ยกตัวอย่างการค านวณ ดังนี้
จ านวนนักศึกษา หน่วยชั่วโมง หน่วยชั่วโมง ค่าสอน เงิน เงินรายได้
(คน/ห้อง) สอนจริง สอนที่เทียบ งบประมาณ สมทบ (บาท)
ให้
ไม่เกิน 50 1 1 400 400 -
51 – 75 1 1.25 500 400 100
76 – 100 1 1.50 600 400 200
101 – 125 1 1.75 700 400 300
ตั้งแต่ 126 ขึ้นไป 1 2 800 400 400