Page 95 - 4-4studylife
P. 95
86
บทท 5
ี่
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาอุปสรรค
ี่
การใช้งานเฟรมเวิร์ค Ionic รุ่นท 1 ในการพัฒนาแอปพลิเคชันมีความสะดวกสบายและเป็นการใช ้
ทักษะที่ผู้พัฒนาเว็บไซต์สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ได้ ซึ่งผลลัพธ์ก็ได้แอปพลิเคชันที่ใช้งานได้ดี เป็นไป
ตามแผนที่วางไว้ แต่อย่างไรก็ตามการพัฒนาแอปพลิเคชันนั้นจะมีความยุ่งยากซับซ้อน มากกว่าการพัฒนา
็
เว็บไซต์เปนอย่างมาก เนื่องจากแอปพลิเคชันนั้นจะต้องนำไปเผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มตามระบบปฏิบัติการ
และระบบปฏิบัติการแต่ละค่ายนั้นไม่เคยหยุดนิ่ง จะมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ กล่าวให้เข้าใจงาย ๆ
่
ก็คือผู้พัฒนาจะต้องติดตามข่าวสารและการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ไม่งั้นแอปพลเคชันที่พัฒนาอาจจะไม ่
ิ
สามารถนำไปเผยแพร่ใน App Store หรือ Google Play ได้ ถ้าแอปพลิเคชันที่พัฒนาไม่ผ่านมาตรฐานท ี่
กำหนด นอกจากนั้นยังมีปัญหาอื่น ๆ อีกมากมายสามารถสรุปเป็นหัวข้อได้ดังน ี้
1. เฟรมเวิร์ค Ionic รุ่นที่ 1 นั้นไม่สามารถปรับเป็นรุ่นใหม่ได้ เนื่องจาก Ionic รุ่นท 1 ใช้เฟรม
ี่
เวิร์ค AngularJS ส่วน Ionic รุ่นที่ 2 เป็นต้นไปใช้เฟรมเวิร์ค Angular (AngularJS ไม่เหมือน
้
Angular) จึงไม่สามารถปรับรุ่นได ต้องพัฒนาใหม่เท่านั้น
ื
2. ในการพัฒนาด้วยเทคนิคไฮบริดโมบายแอปพลิเคชัน เป็นการพัฒนาโดยอาศัยคนกลาง ซึ่งก็คอ
Ionic หรือเฟรมเวิร์คอื่น ๆ ปัญหาก็คือเมื่อไม่ได้พัฒนาผ่านเจ้าของระบบปฏิบัติการโดยตรง
เช่น XCode หรือ Android Studio ทำให้ผู้พัฒนาต้องคอยรับมือกับปัญหาต่าง ๆ ที่เจ้าของ
่
ระบบปฏิบัติการได้ปรับเปลี่ยนใหม แล้วเฟรมเวิร์คที่เราใช้งานไม่ได้รองรับ
3. ในการพัฒนาผ่าน Apache Cordova เป็นการนำเว็บไซต์ไปแปลงเป็นแอปพลิเคชัน ทำให ้
ประสิทธิภาพยังด้อยกว่าการพัฒนาแอปพลิเคชันแบบ Native หรือพัฒนาแอปพลิเคชน
ั
โดยตรง
4. เมื่อไม่ได้มีการแก้ไขปรับปรุงแอปพลิเคชันเป็นเวลานาน เครื่องมือ หรือสภาพแวดล้อมของ
ื่
เครองที่ใช้การพัฒนามักจะตกรุ่น เพราะว่าในการพัฒนาแอปพลิเคชันนั้นมีการติดตั้งโปรแกรม
็
หรือเครื่องมือมากมาย ถ้าไม่มีการปรับรุ่นเป็นเวลานาน ก็มักจะพบปัญหาที่ต้องแก้ไขเปน
ประจำ
5. ในการพัฒนาแอปพลิเคชันในระบบปฏิบัติการ iOS จำเป็นจะต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของ
้
Apple เพื่อที่จะใช Mac OS เท่านั้นทำให้ผู้ที่จะพัฒนาแอปพลิเคชันในมหาวิทยาลัยมีจำกัด
คู่มือการพัฒนาแอปพลิเคชัน Study Life