Page 60 - 4-7database
P. 60
53
ี่
ตารางท 3-15 (ต่อ)
โครงสร้าง ระดับความ
กลุ่ม
ข้อมล / จ าเป็นของการ การตรวจสอบ เงื่อนไขการตรวจสอบ
ู
เขตข้อมูล ท ารายการ
แต่ถ้าลงรายการเป็น $a นิ้วกลม
$x ซึ่งไม่มีการลงข้อมูลของ
หัวเรื่องย่อยเพอขยายหัวเรื่อง
ื่
หลักท าให้ข้อมูลนั้นกลายเป็น
ชื่อผู้แต่งเพียงอย่างเดียว
ิ่
3.2.3.12 ข้อผิดพลาดที่พบและค าแนะน าเพมเติมจากการตรวจสอบระเบียน
ในกลุ่มเขตข้อมูลส าหรับจัดท าระเบียนควบคุม
ี
ี
การลงรายการตามรูปแบบ AACR2 ที่ถูกต้องเพยงอย่างเดียวจะไม่เพยงพอ
กับระบบ UC-TAL ผู้ลงรายการจะต้องวิเคราะห์ความหมายของข้อมูลรายการที่ถูกต้องตามประเภท
และเขตข้อมูลที่จ าแนกไว้ การลงรายการที่ไม่ตรงตามการจ าแนกส่งผลให้เกิดข้อมูลซ้ าซ้อนขึ้น
ในฐานข้อมูลของ UC-TAL จากการศึกษาข้อมูลพบว่ามีกรณีที่ท าให้เขตข้อมูลควบคุมเกิดความ
ซ้ าซ้อนขึ้นดังนี้
ก. การลงรายการผิดเขตข้อมูล (Tag) เกิดจากการจ าแนกขอมูลผิดประเภทท า
้
ให้ลงรายการผิด Tag เช่น การน าชื่อนิติบุคคลไปลงรายการในเขตข้อมูลที่เป็นชื่อผู้แต่ง, การลง
รายการที่เป็นหัวเรื่องที่เป็นชื่อทางภูมิศาสตร์ลงในเขตข้อมูลที่เป็นหัวเรื่องทั่วไป เป็นต้น
ตัวอย่าง การลงรายการเดียวกันผิดเขตข้อมูล
100 $aมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ์
110 $aมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
650$aRussia$xHistory
651 $aRussia$xHistory
จากตัวอย่าง $aมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นชื่อนิติบุคคล แต่มีการลง
รายการในเขตข้อมูล 100 ซึ่งเป็นชื่อผู้แต่งและ $aRussia$xHistory เป็นหัวเรื่องที่เป็นชื่อภูมิศาสตร์
แต่มีการลงรายการในเขตข้อมูล 650 ซึ่งเป็นหัวเรื่องทั่วไป
ข.การใช้รหัสเขตข้อมูลที่ผิด ความผิดพลาดดังกล่าวส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นที่หัว
เรื่อง เนื่องจากมีการลงรายการหัวเรื่องย่อยเพอขยายความหมายให้กับหัวเรื่องหลักโดยการใช้รหัส
ื่
เขตข้อมูลของหัวเรื่องย่อย (Subdivisioncode) ความซ้ าซ้อนที่เกิดขึ้นเกิดจากการลงรายการ
โดยไม่ใช้ Subdivision code เช่น การใช้เครื่องหมาย -- คั่นระหว่างหัวเรื่องหลักและหัวเรื่องย่อย,
และการลงรายการโดยใช้ Subdivision code แต่มีการเลือกใช้ผิดประเภท