Page 61 - 4-7database
P. 61

54







                                     ตัวอย่าง  หัวเรื่องที่ซ้ าซ้อนที่เกิดจาก Subdivision code
                                     650 $aรัฐธรรมนูญ -- ไทย
                                     650 $aรัฐธรรมนูญ$zไทย
                                     650 $aรัฐธรรมนูญ$vไทย

                                     650 $aรัฐธรรมนูญ$xไทย
                                     650 $aรัฐธรรมนูญ$yไทย

                                     จากตัวอย่าง หัวเรื่อง รัฐธรรมนูญ -- ไทย เป็นหัวเรื่องเดียวกัน แต่เนื่องจาก
                       การลงรายการที่ไม่ใช้ Subdivision code และ การใช้ Subdivision code ที่ต่างกันส่งผลให้ข้อมูล
                       เกิดความซ้ าซ้อนถึง 5 รายการ หัวเรื่องทั่วไปที่ถูกต้องควรใช้ $aรัฐธรรมนูญ$zไทย

                                   3.2.3.13 ค าแนะน าในการลงรายการ

                                     การลงรายการให้ถูกต้องตามประเภทและเขตข้อมูลหลัก (Tag) สามารถ
                       สังเกตได้จากข้อมูลใน subfield a เช่น ข้อมูลที่เป็นชื่อ $aกระทรวงสาธารณสุข.$bกรมอนามัย
                       ข้อมูลใน $aจะเป็นชื่อหน่วยงาน (นิติบุคคล) จะลงรายการในเขตข้อมูล 110 รายการที่เป็นหัวเรื่อง
                       $a แม่น้ าโขง $v วารสาร ข้อมูลใน $a เป็นชื่อทางภูมิศาสตร์ จะลงรายการในเขตข้อมูล 651 เป็นต้น

                       กรณีที่เกิดความซ้ าซ้อนของหัวเรื่องที่เกิดจากการลงรายการ subdivision code จะต้องวิเคราะห์ว่า
                       หัวเรื่องย่อยเป็นข้อมูลประเภทใด โดย subdivision code ที่เป็นหัวเรื่องย่อยได้แก่
                                     $v คือ หัวเรื่องย่อยตามรูปแบบของงาน (Form subdivision)

                                     $x คือ หัวเรื่องย่อยทั่วไป (General subdivision)
                                     $y คือ หัวเรื่องย่อยเกี่ยวกับช่วงเวลา หรือยุคสมัย (Chronological
                       subdivision)
                                     $z คือ หัวเรื่องย่อยเกี่ยวกับชื่อ หรือสถานที่ ทางภูมิศาสตร์
                                        หัวเรื่องย่อยที่ลงรายการ $x, $y และ $z สามารถสลับกันได้ตามความส าคัญ

                       ของเนื้อหา และ $v จะเรียงไว้เป็นล าดับสุดท้าย
                                        การลงรายการส าหรับ UC-TAL จะต้องลงรายการโดยใช้ Subdivision code
                       เนื่องจาก OPAC มีการใช้ FACET ที่น าหัวเรื่องย่อยมาใช้ในการกรองผลการสืบค้น และความถูกต้อง

                       ของผลการสืบค้นจะขึ้นอยู่กับการใช้ subdivision code ที่ถูกต้องด้วย
                                   3.2.3.14 ทบทวนข้อก าหนดในการตรวจสอบซ้ า

                                                                                             ื่
                                     การตรวจสอบความซ้ าซ้อนของระเบียนสามารถตรวจได้จากเงอนไข ดังนี้
                                                                                             ี
                       ตรวจสอบข้อมูลใน 022/020+260$c  ถ้าซ้ าถือว่าเป็นรายการเดียวกัน ในกรณี ที่ไม่มการลงรายการ
                                                                       ้
                       ใน 022/0202+260$c ระบบจะท าการตรวจสอบจากเขตขอมูล 245$a$b+100$a+250$a+260$c
                       รายการ Merge tag ดังนี้
                                     - ISN 020/022
                                     - Call number (050, 060, 082)
                                     - Note tag (505)

                                                   - Subject 6xx
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66