Page 32 - 5-10graphicproduc
P. 32

23


                                         การเนนดวยพื้นผิว เปนการใชลักษณะพื้นผิวที่แตกตางกัน เชน พื้นผิวหยาบกับ

                                  พื้นผิวละเอียด เปนตน


                                         การเนนดวยขนาด เปนการเนนดวยรูปรางหรือรูปทรงที่มีขนาดไมเทากัน เชน
                                  วงกลมเล็ก และวงกลมใหญ เปนตน


                                         การเนนดวยสี เปนการใชสีที่ไมเหมือนกัน เชน สีออนกับสีเขม สีคูตรงขาม เปน

                                  ตน


                                         การเนนดวยรูปทรง เปนการเนนดวยรูปทรงที่ไมเหมือนกัน เชน รูปทรงกลม

                                  หนึ่งรูปกับรูปทรงสี่เหลียมหลาย ๆ รูป หรือ รูปทรงเรขาคณิตกับรูปธรรมชาติ เปนตน
                                                     ่
                                                        ั
                                                                     
                                                    ้
                                              
                                         การเนนดวยนำหนก เปนการเนนดวยการใชน้ำหนักออนและน้ำหนักเขม เชน
                                                                                     
                                 จุดสีขาวที่อยูบนพื้นสีดำ จุดสีขาวจะเดนขึ้น เปนตน
                              2)  การเนนโดยการแยกตัวออกไป เมื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่งถูกแยกออกมาจากกลุม ของสิ่งนัน
                                                                                                        ้
                                 จะกลายเปนจุดเดนขึ้นมาทันที
                              3)  การเนนโดยการจัดวางตำแหนง เปนการใชองคประกอบนำสายตาใหมายังตำแหนงที  ่
                                                                                                       
                                 ตองการเนนใหสนใจ แบงเปน 3 ลักษณะ คือ


                                                      ่
                                                    
                                         ั
                                     การจดวางตำแหนงทีมีทิศทางคลอยตามกัน
                                     การจัดวางตำแหนงใหแพรเปนรัศมีจากจุดเดน

                                     การจดวางตำแหนงโดยใชเสนนำสายตาไปยังสวนสำคญของภาพ
                                         ั
                                                                                ั
                                                    
                                                   
                              4)  การไมปรากฏความเดนของจุดสนใจ คือ การไมเนนสิ่งใดสิ่งหนึ่งในภาพ ทุกสวนมีความ
                                                                       ้
                                 โดดเดนเทาเทียมกันหมด เชน ลวดลายของเสือผา ลวดลายของเครองกระเบือง ลวดลาย
                                                                                        ่
                                                                                                ้
                                      
                                                                                        ื
                                 เครองประดับ เปนตน
                                    ื
                                    ่
                       3.2.7  สัดสวน
                              สัดสวน คือ ความสัมพันธกันอยางเหมาะสม ระหวางขนาดขององคประกอบตาง ๆ ที่มี

                       ลักษณะเหมือนกันและแตกตางกัน ใหความสัมพันธที่ไมมากไมนอยเกินไป มีความกลมกลืนกันของ
                                                                            
                                   ้
                                                
                       องคประกอบทังหลาย ประเสิรฐ พิชยะสุนทร (2555 : 128) แบงสัดสวนออกเปน 2 ลักษณะ ดังน  ี้
                          
                                                                     
                                                                                                   ู
                                     สัดสวนจากความรูสึก เปนสัดสวนที่สรางขึ้นเพื่อแสดงออกถึงอารมณความรสึก ให
                              เปนไปตามที่ผูสรางผลงานตองการ อาจมีสัดสวนเหมือนจริงหรือบิดเบี้ยวผิดจากความเปน
                                                     
                                            
                              จริงไปก็ได  
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37