Page 30 - 5-10graphicproduc
P. 30

21


               3.2    หลักการออกแบบ


                       หลักการออกแบบคือ การนำองคประกอบศิลป มาจัดวางเพื่อใหเกิดความสวยงามและตรงตาม

               วัตถุประสงคที่ตองการ มีหลักการดังน  ี้


                       3.2.1  ความสมดุล


                              ความสมดุล คือ น้ำหนักที่เทากันของสิ่งตาง ๆ เปนการกระจายน้ำหนักใหไมเอนเอียงไป
                                                             ้
                                                        ิ
                                                             ั
                                                                                                       ุ
                           
                                      ึ
                                                ุ
                                      ่
                                 
                                                                                
                                                                          ุ
                       ทางดานในดานหนง ความสมดลในทางศลปะนนเปนความสมดลทางดานความรูสึก ซึ่งความสมดลที่
                       เห็นอาจจะไมเทากัน แตสัมผัสไดดวยอารมณ ความรูสึกของคน แบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ
                                                           ื
                                                                                   ื
                                                                                          ั
                              ความสมดลแบบสองขางเทากัน หรอ ความสมดลแบบสมมาตร คอ มีการจดวางองคประกอบ
                                                                     ุ
                                      ุ
                                                                                                  
                       ตาง ๆ ที่เทากัน เหมือนกันทั้ง 2 ขาง ไมแตกตางกัน การจัดวางลักษณะนี้ใหความรูสึก มั่นคง สงางาม
                               
                       แข็งแรง นาเกรงขาม
                              ความสมดุลแบบสองขางไมเทากัน หรือความสมดุลแบบอสมมาตร คือการจัดวาง
                       องคประกอบที่ไมเหมือนกันทั้งสองดาน เชน มีขนาดและน้ำหนักไมเหมือนกัน สัดสวน ปริมาตรไม
                       เทากัน แตมองแลวใหความรูสึกที่เทากัน
                       3.2.2  ความกลมกลืน


                                                                  
                                                                           
                              ความกลมกลืน คือ การประสานกันขององคประกอบตาง ๆ เชน สี ขนาด รูปราง รูปทรง ที่
                       วาง ใหเปนอันหนึ่งอันเดียว ไมขัดแยงกัน เทียนชัย ตั้งพรประเสิรฐ (2549 : 57-58) แบงความ
                       กลมกลืนออกเปน 3 ลักษณะ คือ


                                                                                ั
                                                                                                    
                                                                                                        ื
                              ความกลมกลืนจากสิ่งที่เหมือนกัน คือ ความกลมกลืนในการจดองคประกอบดวยรปรางหรอ
                                                                                                 ู
                       รูปทรงที่มีลักษณะซ้ำ ๆ กัน เชน ใชรูปทรงกลมเพียงอยางเดียว ทำใหดูนาเบื่อ ไมนาสนใจ
                              ความกลมกลืนจากสิ่งที่คลายคลึงกัน คือ ความกลมกลืนจากการใชวัตถุ สิ่งของ ที่มีลักษณะ

                       ใกลเคียงมาจัดรวมกัน เชน การใชรูปวงกลมกับรูปวงรี จะไดผลนาสนใจขึ้น


                                                                                                   ู
                              ความกลมกลืนจากสิ่งที่ตางกัน คือ ความกลมกลืนในการจัดองคประกอบดวยรูปรางรปทรงที่
                       แตกตางกันหรือการขัดแยงดวยสี แตสามารถแสดงความกลมกลืนออกมาไดเปนอยางดี จะใหผลที ่

                       นาสนใจ


                      3.2.3  ความขัดแยง


                              ความขัดแยง คือ ความแตกตางหรือความไมเขากันขององคประกอบตาง ๆ เชน สีตรงกันขาม

                                   
                       รูปทรงที่แตกตางกัน ผิวหยาบกับผิวละเอียด เปนตน ความขัดแยงจะตรงกันขามกับความกลมกลืน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35