Page 27 - 5-14opac
P. 27
20
บทที่ 3
หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงาน
1. หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงาน
ในการปฏิบัติงานตามคู่มือ เรื่องการสืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด
OPAC เป็นการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุดจากคอมพวเตอร์ผ่านทางระบบเครือข่าย
ิ
อนเทอร์เน็ต ซึ่งใช้หลักการสืบค้นด้วยการค้นด้วยชื่อผู้แต่ง (Author), ชื่อเรื่อง (Title), หัวเรื่อง
ิ
(Subject), ค าส าคัญ(Keyword) และเลขเรียกหนังสือ (Call Number) โดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป
Walai AutoLib Ultimate เพออานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ
ื่
ื่
ในห้องสมุดและเพอให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างสะดวก
และรวดเร็ว ดังนี้
การสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศ (อะห์ลาม เจะเตะ, 2559, น.14) หมายถึง กระบวนการในการค้นหา
ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ต้องการโดยการใช้เครื่องมือช่วยค้นสารสนเทศ โดยการจัดท าเครื่องมือช่วยค้น
ถือเป็นหน้าที่หนึ่งของกลุ่มวิทยบริการเพออานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการสืบค้นสารสนเทศ
ื่
ซึ่งปัจจุบันเครื่องมือช่วยค้นสารสนเทศสามารถจ าแนกได้หลายประเภท เช่น บัตรรายการ รายการ
ออนไลน์ ฐานข้อมูล และโปรแกรมค้นหา เป็นต้น
การสืบค้นสารสนเทศจากระบบ OPAC
OPAC (อะห์ลาม เจะเตะ, 2559, น.16) ย่อมาจาก Online Public Access Catalog
หมายถึง การเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดด้วยระบบคอมพวเตอร์ออนไลน์ ผู้ใช้
ิ
ิ
จะใช้คอมพวเตอร์ปลายทางเป็นเครื่องมือค้นหาทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ โดยใช้ค าสั่ง
หรือป้อนค าถาม แล้วอานค าตอบหรือรายการที่สืบค้นได้จากฐานข้อมูลของห้องสมุดที่อาจใช้
่
ั
ซอฟต์แวร์ที่พฒนาขึ้นเอง ซอฟต์แวร์ส าเร็จรูป หรือซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลในระบบห้องสมุด
อัตโนมัติ ในการสร้างฐานข้อมูล
1. ข้อดีของการสืบค้นสารสนเทศในระบบ OPAC
1.1 ผู้ใช้สามารถสืบค้นสารสนเทศที่ต้องการได้มากกว่าการค้นหาจากบัตรรายการ
ซึ่งบัตรรายการจะจ ากัดการเข้าถึงสารสนเทศด้วยชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ในการค้นหาจาก OPAC
จะค้นจากชื่อผู้แต่ง, หัวเรื่อง, และชื่อเรื่อง รวมถึงการสืบค้นโดยการใช้ตรรกบูลีน เช่น AND, OR,
และNOT หรือการค้นจากเขตข้อมูล เฉพาะที่ต้องการได้ เช่น เขตข้อมูล ISBN และที่ส าคัญ
คือ การสืบค้นโดยใช้ค าส าคัญ ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมใช้มากที่สุด