Page 8 - 5-14opac
P. 8

1






                                                            บทที่ 1

                                                             บทน ำ


                       1. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ


                               ห้องสมุดเป็นแหล่งสารสนเทศที่รวบรวมความรู้หลากหลาย หน้าที่หลักของห้องสมุด

                       คือ การให้บริการความรู้ผ่านสื่อความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ  เช่น หนังสือ ต ารา วารสารวิชาการ นิตยสาร
                       นวนิยาย รวมถึงสื่อมัลติมีเดียเพอสนองต่อความต้องการแก่ผู้ต้องการค้นคว้าหาค าตอบ หาข้อมูล
                                                  ื่
                       ความรู้ (ผจงจิตต์ ประทุมชาติ, 2559, น.80) ห้องสมุด ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
                       มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เป็นแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่ส าคัญต่อการศึกษา

                       และเรียนรู้ตลอดชีวิต บทบาทส าคัญของห้องสมุด คือ เป็นแหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ
                                                                                                    ั
                       ซึ่งใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษา การค้นคว้า การสืบค้น การวิจัย การจรรโลงใจและการพกผ่อน
                       หย่อนใจ ปัจจัยส าคัญที่ท าให้ห้องสมุดเป็นสถานที่ใช้ส าหรับศึกษา ค้นคว้า คือ ทรัพยากรสารสนเทศ

                                                                    ์
                       ของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสื่อสิ่งพมพ สื่อโสตทัศน์ ซึ่งทรัพยากรสารสนเทศเหล่านี้
                                                                 ิ
                       ต้องมีคุณภาพ เหมาะสม ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ห้องสมุด และช่วยให้ผู้ใช้มีนิสัย
                                               แ
                       รักการอาน  การค้นคว้า   ล ะใฝ่หาความรู้ด้วยตนเองเพราะห้องสมุดเป็นแหล่งบริการ
                              ่
                       ข้อมูล  ข่าวสาร  จัดให้มีบริการช่วยการค้นคว้า  งานบริการถือเป็นงานหลักที่ห้องสมุดต้องวางแผน

                       บริหารจัดการ การพจารณา คัดเลือก จัดซื้อ จัดหาทรัพยากรสรสนเทศ เพออานวยความสะดวก
                                        ิ
                                                                                       ื่
                       แก่สมาชิกและผู้ใช้บริการของห้องสมุด ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ตรงตามความต้องการ และได้รับ
                       ประโยชน์สูงสุด (สายธาร สุเมธอธิคม, 2558)

                               ปัจจุบันห้องสมุดมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในเรื่องการบริการสืบค้นหา
                       สารสนเทศให้มีความสะดวก รวดเร็ว มากขึ้น โปรแกรมจัดเก็บและค้นคืนจากหน้าจอคอมพวเตอร์
                                                                                                    ิ
                       เรียกว่า “OPAC” มาจากค าเต็มว่า Online Public Access Catalog  เป็นระบบย่อยระบบหนึ่งของ
                                         ั
                       โปรแกรมห้องสมุดอตโนมัติที่ใช้ส าหรับสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศจากฐานข้อมูล
                       บรรณานุกรม ซึ่งรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ คือ หนังสือ โสตทัศนวัสดุ
                       และวารสาร ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว โดยใช้เทอร์มินอลปลายทางเป็นเครื่องมือ

                       สืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ และใช้ทางเลือกที่ต้องการสืบค้น เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง
                                            ิ
                                               ์
                       หัวเรื่อง และค าส าคัญ  พมพค าค้นหรือข้อความเข้าในระบบ และผู้ใช้สามารถใช้เทคนิคการสืบค้น
                       ขั้นสูง เช่น ตรรกบูลีน การตัดค า หรือการจ ากัดการค้นด้วยเขตข้อมูล เข้าร่วมในการสืบค้นได้ จากนั้น
                       ระบบจะแสดงผลการสืบค้น ผู้ใช้จะทราบว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการหรือไม่

                       และตรวจสอบสถานภาพของทรัพยากร นอกจากนี้ผู้ใช้ยังสามารถแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
                       ต่าง ๆ รวมทั้งการตรวจสอบรายละเอยดการยืม-คืนของตนเอง การยืมทรัพยากรสารสนเทศต่อด้วย
                                                      ี
                       ตนเอง และการจองทรัพยากรสารสนทศ ผ่านทางหน้าจอ OPAC ได้ เป็นต้น (ศิรวดี อวนไตร
                                                                                                    ้
                       และภรณี ศิริโชติ, 2551, น.3)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13