Page 9 - 5-14opac
P. 9
2
จากความเป็นมาและความส าคัญที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้เขียนจึงได้จัดท าคู่มือการ
ปฏิบัติงาน การการสืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด Online Public Access
ื่
Catalog (OPAC) เพอการสืบค้นฐานข้อมูลและขจัดปัญญาในการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งผล
ที่ได้จาการจัดท าคู่มือครั้งนี้จะเป็นแนวทางแก่ผู้ปฏิบัติงานได้แก่ บรรณารักษ์และนักเอกสารสนเทศ
ื่
กลุ่มวิทยาบริการ ส าหรับการให้บริการฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากร หรือ OPAC เพอให้
สอดคล้องกับการใช้งานของอาจารย์ บุคลากร และนิสิตบัณฑิตศึกษา
2. วัตถุประสงค์
1. เพอเป็นแนวทางการปฏิบัติงานการบริการฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด
ื่
แก่บรรณารักษ์และนักเอกสารสนเทศ ผู้ปฏิบัติงานโดยตรง และปฏิบัติงานแทน
2. เพื่อการสืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุดเป็นมาตรฐานเดียวกัน
3. เพื่อลดข้อผิดพลาดที่เกิดจากการสืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด
3. ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ได้แนวทางการปฏิบัติงานการบริการฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด
่
แกบรรณารักษ์และนักเอกสารสนเทศ ผู้ปฏิบัติงานโดยตรงและผู้ปฏิบัติงานแทน
2. การสืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด OPAC เป็นมาตรฐานเดียวกัน
3. ลดข้อผิดพลาดที่เกิดจากการสืบค้นฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด
4. ขอบเขตของคู่มือ
การจัดท าคู่มือการปฏิบัติงานการใช้ฐานข้อมูลบรรณานุกรมทรัพยากรห้องสมุด (OPAC)
มีเนื้อหาครอบคลุมขั้นตอนการสืบค้นใช้ในการปฏิบัติงานเท่านั้น
5. ค ำจ ำกัดควำมเบื้องต้น
1. ทรัพยำกรสำรสนเทศ หมายถึง ทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายในห้องสมุด
ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ได้แก่ หนังสือ
วิทยานิพนธ์ งานวิจัย โครงงานพิเศษ นิตยสาร วารสาร และ สื่อโสตทัศน์
2. กำรสืบค้นสำรสนเทศ หมายถึง วิธีการของกระบวนการค้นคืนสารสนเทศ คือ การศึกษา
ื่
ั
ความต้องการ การสร้างแนวความคิด การสร้างประโยคในการสืบค้น เพอให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงกบความ
ต้องการ
3. OPAC มำจำกค ำเต็มวำ Online Public Access Catalog หมายถึง ระบบที่ผู้ใช้
่
สามารถสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ ของห้องสมุดผ่านระบบเครือข่าย
และจะแสดงสถานะของทรัพยากรสารสนเทศว่ามีอยู่บนชั้นหรือถูกยืมออกไปแล้ว โดยการค้นด้วย
ค าส าคัญ หัวเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง และเลขเรียกหนังสือ (นฤมล กิจไพศาลรัตนา, 2557, น.48)