Page 10 - 7-2emeeting
P. 10
2
่
ให้คณะกรรมการอานก่อนการประชุมล่วงหน้า 3 วัน คณะกรรมการสามารถตรวจสอบ แก้ไขหรือ
รับรองรายงานการประชุมได้ อีกทั้งยังสามารถค้นหาการประชุมย้อนหลังได้อย่างสะดวก
จากความเป็นมาและความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นเหตุให้ผู้เขียนในฐานะผู้ปฏิบัติงาน
ด้านบริหารงานทั่วไป มีความสนใจที่จะจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน เรื่องการประชุมคณะกรรมการ
ิ
บริหารมหาวิทยาลัย (กบม.) ด้วยระบบอเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting) กองกลาง มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
1.2 วัตถุประสงค์
ื่
1. เพอให้ผู้ปฏิบัติงานการประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (กบม.) ด้วยระบบ
ู
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting) เป็นไปตามกฎระเบียบและหลักเกณฑ์ที่ถกต้อง
2. เพื่อเป็นการปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน และสามารถปฏิบัติงานทดแทนกันได้
3. เพอเป็นคู่มือในการกำกับและตรวจสอบการปฏิบัติงาน ในการจัดประชุมคณะกรรมการ
ื่
บริหารมหาวิทยาลัย (กบม.) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting)
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (กบม.)
ด้วยระบบอเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting) ที่สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ และเป็นการลดค่าใช้จ่าย
ิ
ในการจัดประชุม ลดกระดาษ เพราะเป็นมหาวิทยาลัย Digital University
2. การปฏิบัติงานที่รวดเร็วถูกต้อง และเป็นแนวทางในการปฏิบัติสำหรับผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ
การจัดประชุม เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเป็นไปตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสาร
บรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548
3. เป็นมาตรฐานของงาน และเป็นแนวปฏิบัติในการจัดประชุม เมื่อมีการปรับเปลี่ยน
ผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดประชุม
1.4 ขอบเขตของคู่มือ
การปฏิบัติงานตามคู่มือ การจัดประชุมคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (กบม.)
ิ
ด้วยระบบอเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting) กองกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ครอบคลุมขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การรับนโยบายการกำหนดจัดประชุม จัดทำหนังสือเชิญประชุม
ื่
ื่
จองห้องประชุม และจัดทำวาระ ประสานกับหน่วยงานเพอขอข้อมูลเพอที่จะนำเข้าระบบ
อเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting) ตลอดจนตัวอย่างระเบียบวาระการประชุมที่เป็นไปตามข้อบังคับ
ิ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ว่าด้วยคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2562
เป็นประจำทุกเดือน