Page 8 - 7-9academic
P. 8
1
บทที่ 1
บทน ำ
1.1 ควำมเปนมำและควำมส ำคญ
ั
็
ิ
็
การบริการวิชาการแก่สังคม เปนภารกจหลักของสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศของ
ิ
ิ
กระทรวงศึกษาธการ ซึ่งก าหนดมาตรฐานการด าเนินการตามภารกจหลักของสถาบันอุดมศึกษาไว้
4 ด้าน คอ 1) ด้านการผลิตบัณฑิต 2) ด้านการวิจัย 3) ด้านการบริการวิชาการแก่สังคม และ
ื
ุ
4) ด้านท านุบ ารงศิลปวัฒนธรรม การบริการวิชาการแก่สังคม จึงเปนการให้บริการทางวิชาการ
็
ตามความเชยวชาญของหน่วยงานทพึงให้บริการแก่สังคมและประเทศชาติในรปแบบต่าง ๆ
ี
่
ี
ู
่
โดยให้บริการทางวิชาการ อาจให้เปล่าโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย หรืออาจคิดค่าใช้จ่ายตาม
ความเหมาะสม โดยให้บริการทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หน่วยงานอสระ หน่วยงาน
ิ
ู
ี
สาธารณะ ชุมชน และสังคมโดยกว้าง รปแบบการให้บริการทางวิชาการมความหลากหลาย เช่น
1. ด้านการฝกอบรม สัมมนา และบรรยายพิเศษ หมายถึง การให้บริการจัดฝกอบรม
ึ
ึ
็
ิ
สัมมนา บรรยาย และประชุมเชิงปฏบัติการแบบเกบค่าลงทะเบียน แบบให้เปล่า และแบบลักษณะ
การว่าจ้างให้กับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย ทั้งภาครัฐและเอกชน
2. ด้านการวิจัยและพัฒนา การผลิตชิ้นงาน การตรวจสอบ และทดสอบผลิตภัณฑ์
หมายถึง การให้บริการผลิต ตรวจสอบ และทดสอบผลิตภัณฑ์ ให้แก่บุคคล/หน่วยงานภายนอก
มหาวิทยาลัย ทั้งภาครัฐและเอกชน
3. ด้านการให้ค าปรึกษา หมายถึง การให้บริการให้ค าปรึกษาทางวิชาการด้านต่าง ๆ
ให้กับบุคคล/หน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย ทั้งภาครัฐและเอกชน
ี
่
ี
่
4. ด้านการเปนกรรมการและทปรึกษา หมายถึง การทบุคลากรของมหาวิทยาลัยไปเปน
็
็
่
ทปรึกษา กรรมการวิทยานิพนธ์ และกรรมการทางด้านวิชาการ/วิชาชพให้แก่หน่วยงานภายนอก
ี
ี
มหาวิทยาลัย ทั้งภาครัฐและเอกชน
คณะสถาปตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี
ั
)
จ านวน 3 สาขาวิชา คอ 1) สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 2 สาขาวิชา
ื
การออกแบบบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ และ3) สาขาวิชาสถาปตยกรรม จึงมอบหมายให้แต่ละ
ั
ื
ื
่
ิ
่
สาขาวิชาจัดบริการวิชาการแก่สังคม เพอขับเคลอนพันธกจของคณะฯ และมหาวิทยาลัยฯ
ี
ี
่
โดยสาขาวิชาทมความพร้อมและความสามารถจัดบริการวิชาการแก่สังคมภายใต้นโยบายและ
ี
ความถนัดของสาขาวิชาหรือบุคคล ทั้งน้ควรค านึงถึงกระบวนการในการให้บริการวิชาการแก่สังคม