Page 145 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 145

139


               สรุป

                      ระบบฐานข้อมูลธนาคารต้นไม้ เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นมาจากการแลกเปลี่ยนความรู้
               ระหว่างชุมชนและสถาบันการศึกษา ท าให้นักศึกษาสามารถน าความรู้ที่ได้จากห้องเรียนน าไปสู่การใช้
               ประโยชน์จากการปฏิบัติโดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมและสามารถน าไปใช้ในการแก้ปัญหาใน

               สถานการณ์จริงโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ซึ่งจากการด าเนินงานพบว่าชุมชนให้ความร่วมมือในการให้
               ข้อมูลเพื่อการพัฒนาระบบเป็นอย่างดี และจากการติดตั้งและทดลองใช้พบว่าระบบสามารถแก้ปัญหาที่เกิด
               จากการจัดการข้อมูลต้นไม้ในรูปเดิมได้อย่างมีประสิทธิภาพ การแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างชุมชนและนักศึกษา

               ในการพัฒนาระบบดังกล่าวท าให้เกิดการน าองค์ความรู้ไปสู่การพัฒนาเพื่อความเข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน
               รวมถึงก่อให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดีส าหรับนักศึกษาในการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง นอกจากนี้ เนื่องจากระบบที่
               ด าเนินการไปแล้วนี้เป็นระบบต้นแบบที่มุ่งเน้นไปที่การแก้ปัญหาหลักในการจัดการข้อมูลต้นไม้ ดังนั้นใน
               อนาคตอาจจะสามารถขยายความสามารถของระบบให้สามารถอ านวยความสะดวกมากในการท างานได้มาก

               ขึ้น เช่น การระบุพิกัดของต้นไม้ หรือ การพัฒนาเป็นโปรแกรมประยุกต์ส าหรับการจัดการข้อมูลบนอุปกรณ์
               เคลื่อนที่ต่อไป

               บรรณานุกรม

               ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. ธนาคารต้นไม้ TREE BANK. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2559

                        จาก https://www.baac.or.th/csr2011/files/ธนาคารต้นไม้.pdf.

               นันทนี แขวงโสภา. 2555. คู่มือ Microsoft Access 2007 ฉบับสมบูรณ์ (2012-2013).กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น.

               บัญชา ปะสีละเตสัง. 2554. พัฒนาแอปพลิเคชั่นด้วย Visual Basic 2010. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.


               โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. 2548. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.


               โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. 2551. ระบบฐานข้อมูล Database Systems. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150