Page 140 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 140

134


                         1)  เมื่อมีผู้น าฝากต้นไม้ เจ้าหน้าที่จะบันทึกรายการต้นไม้ตามรายละเอียดของต้นไม้นั้น ๆ
               รายละเอียดของผู้น าฝาก รวมถึงพื้นที่ในการปลูกต้นไม้นั้น

                         2) เมื่อถึงรอบระยะเวลาเช่น 1 ปี มีการบันทึกการเจริญเติบโตของต้นไม้โดยการวัดขนาดรอบล าต้น
                         3) บันทึกการเปลี่ยนแปลงสถานะของต้นไม้ เช่น การตัด

               ปัจจุบันการบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ยังอยู่ในรูปแบบของการจดบันทึกลงกระดาษ ดังตัวอย่างในภาพที่ 1

















                                         ภาพที่ 1 ตัวอย่างการจดบันทึกข้อมูลต้นไม้ลงในเอกสาร


                      2. วิเคราะห์ปัญหาและการก าหนดความต้องการ ภายหลังจากที่นักศึกษาได้ท าการรวบรวมข้อมูลและ
               ศึกษาระบบงานเดิม น าผลที่ได้มาท าการวิเคราะห์สามารถสรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการด าเนินงานของการ

               จัดการข้อมูลธนาคารต้นไม้ในรูปแบบเดิมได้ดังนี้

                         1) ความซ้ าซ้อนในการท างาน เนื่องจากการเก็บข้อมูลในรูปแบบการจดใส่กระดาษบันทึกบางครั้ง
               จะเกิดความผิดพลาดในการท างานจึงท าให้การจัดเก็บข้อมูลของแต่ละหมู่บ้านเกิดความซ้ าซ้อน

                         2)  ความล่าช้าในการท างาน เมื่อข้อมูลต้นไม้มีจ านวนมากขึ้นท าให้การแก้ไขหรือค้นหาข้อมูล
               กระท าได้ช้า
                         3) ความผิดพลาดในการเก็บข้อมูล เนื่องจากเจ้าหน้าที่ในการบันทึกข้อมูลโดยการจดในกระดาษ
               บันทึกท าให้การที่จะดูข้อมูลเก่ามีการผิดพลาดหรือสูญหายได้ เช่น อ่านไม่ออก กระดาษบันทึกช ารุดเสียหาย

               หรือการสูญหายของกระดาษบันทึกข้อมูล
                         จากปัญหาดังกล่าวรวมถึงการรวบรวมข้อมูลจากความต้องการของชุมชนสามารถสรุปเป็นความ
               ต้องการในการพัฒนาระบบสารสนเทศที่สามารถท างานได้ดังต่อไปนี้
                         1) ช่วยให้การค้นหาข้อมูลต้นไม้ได้เร็วขึ้น

                         2) ข้อมูลต้นไม้มีจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบ

                         3) ข้อมูลต้นไม้ไม่มีการซ้ าซ้อน
                         4) ลดขั้นตอนในการท างาน


                      3.  ออกแบบโปรแกรมและฐานข้อมูล จากข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนของการวิเคราะห์ปัญหาและความ
               ต้องการ สามารถน ามาออกแบบโปรแกรมและพัฒนาฐานข้อมูล ตามขั้นตอน คือ
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145