Page 144 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 144
138
2) ระบบง่ายต่อการต่อการค้นหาและการใช้งาน
3) ระบบอ านวยความสะดวกต่อผู้ใช้ระบบ
4) ระบบมีความสวยงาม ทันสมัย และน่าใช้งาน
5) ความรวดเร็วในการตอบสนองของระบบ
6) ระบบสามารถจัดเก็บข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
7) ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการใช้งานระบบ
และพบว่าผู้ตอบแบบประเมินได้ประเมินผลภาพรวมต่อการใช้งานระบบอยู่ในเกณฑ์เฉลี่ยระดับดีมาก
ผลและการอภิปรายผลการด าเนินงาน
ผลที่ได้จากการน าระบบฐานข้อมูลธนาคารต้นไม้ไปติดตั้งและทดลองใช้พบว่า ระบบอ านวยความ
สะดวกในการจัดการข้อมูลธนาคารต้นไม้ของชุมชนดังต่อไปนี้
1. ข้อมูลต้นไม้จัดเก็บอย่างเป็นระเบียบมากขึ้น ข้อมูลไม่สูญหาย และไม่มีการจัดเก็บที่ซ้ าซ้อนกัน
2. การค้นหาข้อมูลต้นไม้ท าได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น ลดเวลาในการท างานลง
3. สามารถลดปริมาณและต้นทุนในการใช้กระดาษเพื่อการจัดเก็บข้อมูล
4. สามารถสรุปรายงานประเภทต่าง ๆ ได้สะดวกและถูกต้องมากขึ้น
นอกจากนี้ จากผลการน าระบบฐานข้อมูลธนาคารต้นไม้ไปทดลองใช้ดังกล่าว ท าให้ชุมชนยอมรับและ
เห็นถึงความส าคัญของการน าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่ออ านวยความสะดวกในการท างาน และท าให้
นักศึกษาตระหนักถึงความส าคัญของการใช้ความรู้ในการพัฒนานวัตกรรมที่สามารถน าไปใช้แก้ปัญหาและใช้
ประโยชน์ได้จริงต่อชุมชน
ปัจจัยที่ท าให้เกิดผลส าเร็จ
1. ความร่วมมือของชุมชนในการถ่ายทอดความรู้ในการจัดการข้อมูลธนาคารต้นไม้และการร่วมกัน
ก าหนดความต้องการในการพัฒนาระบบร่วมกันกับนักศึกษา รวมถึงความร่วมมือในการทดลองใช้และประเมิน
การท างานของระบบเพื่อปรับปรุงระบบให้สามารถแก้ปัญหาให้กับชุมชนได้จริง
2. ความเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติของนักศึกษาที่สามารถน าองค์ความรู้ที่ได้จากห้องเรียนน าไปสู่การ
ปฏิบัติจริงได้
ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข
1. นักศึกษายังขาดประสบการณ์ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบจริง แก้ปัญหาโดยการลงพื้นที่พบ
กับชุมชนบ่อยครั้งเพื่อเพิ่มทักษะในการเก็บรวบรวมข้อมูลและความต้องการ และการน าข้อมูลมาวิเคราะห์
2. ปัญหาในการติดตั้งระบบเนื่องจากความเข้ากันได้ของเทคโนโลยี แก้ปัญหาโดยการปรับระบบให้
สามารถท างานเข้ากันได้กับเครื่องมือของชุมชนที่มีอยู่