Page 332 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 332

326


               สรุป

                       การจัดการความรู้ เรื่อง การด าเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยของนักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป

               จันทบุรี พบว่า งานวิจัยของนักศึกษามุ่งเน้นทางด้านดนตรีไทยและนาฏศิลป์ไทย เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพและเชิง
               ปริมาณ ดังนั้นเพื่อให้งานวิจัยของนักศึกษามีประสิทธิภาพ จึงได้มีการจัดท าคู่มือการด าเนินงานวิจัยส าหรับ
               นักศึกษา เพื่อน าไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานวิจัยในรายวิชาศิลปนิพนธ์ ส่งผลให้ประสบความส าเร็จของ
               งานอย่างมีคุณภาพ โดยมีการปฏิบัติ อย่างเป็นขั้นตอน 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 เตรียมการ  ขั้นตอนที่ 2

               กระบวนการปฏิบัติงานวิจัย และขั้นตอนที่ 3  การเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะ ดังนั้น การน าผลของการ
               จัดการความรู้ไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานอาจพบข้อที่ควรพัฒนา จึงต้องมีการจัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติมจาก
               นักศึกษาที่ปฏิบัติงานวิจัย เพื่อเปรียบเทียบและน าผลมาพัฒนาให้ได้องค์ความรู้ที่สมบูรณ์ต่อไป


               บรรณานุกรม


               กระทรวงวัฒนธรรม. (2556).  คู่มือวิทยานิพนธ์และศิลปนิพนธ์  สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.  ระเบียบคณะ
                      ศิลปศึกษา สถาบันบัณฑฺตพัฒนศิลป์ ว่าด้วยการท าศิลปนิพนธ์ ระดับปริญญาตรี.


               กระทรวงวัฒนธรรม. (2555). หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต. คณะศิลปศึกษา สถาบัน
                       บัณฑิตพัฒนศิลป์.

               นิภา  ศรีไพโรจน์. เอกสารประกอบค าสอนเรื่องประเภทของการวิจัย. เข้าถึงได้จาก : www.watpon.cor

               สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์. (2554) คู่มือศิลปนิพนธ์. คณะศิลปศึกษา.
   327   328   329   330   331   332   333   334   335   336   337