Page 330 - บทความแนวปฏิบัติที่ดี KM มทร.+2 ครั้งที่ 10
P. 330
324
- ทีมงานวิจัย ได้แก่ นางธนันญภา บุญมาเสมอ นางสาวธนพัต ธรรมเจริญพงศ์ นายสิงห์ศึก ยอด
เนรแก้ว
- ประธานหลักสูตรนาฏศิลป์ไทยศึกษา นางสาวปิยาภรณ์ ประเสริฐ
- หัวหน้าภาควิชานาฏศิลป์ นางเพียงเพ็ชร์ คมข า
จากนั้นคัดเลือกประเด็นองค์ความรู้ร่วมกัน โดยก าหนดหัวข้อ คือ เรื่องการด าเนินงานเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพงานวิจัยให้กับนักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
2. การสร้างและแสวงหาความรู้ โดยจัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปประเด็นความรู้จากการ
ระดมความคิด และมีการค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมตามประเด็นที่ได้จากแหล่งอื่น ๆ
3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ โดยรวบรวมข้อมูลความรู้ที่ได้มาสรุปประเด็นองค์ความรู้ที่
เกี่ยวข้องกับแนวปฏิบัติการด าเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยของนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
ในรายวิชาศิลปะนิพนธ์ น าความรู้ที่ได้รับรวบรวมในรูปแบบเอกสาร
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ โดยจัดการประชุมคณะกรรมการ KM เพื่อร่วมกันกลั่นกรอง
และรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล โดยน าเสนอผ่านจอโปรเจคเตอร์ สรุปองค์ความรู้ที่ได้
น าเสนอแลกเปลี่ยนกับบุคลากรที่มีความรอบรู้ในการท าวิจัยเป็นผู้ตรวจสอบและปรับแก้ให้มีความสมบูรณ์
ยิ่งขึ้น
5. การเข้าถึงความรู้ เสนอองค์ความรู้ต่อที่ประชุมประจ าเดือน จัดท าเอกสารประชาสัมพันธ์ เผยแพร่
องค์ความรู้ทางเว็บไซต์
6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ น าข้อมูลองค์ความรู้แลกเปลี่ยนกันระหว่างอาจารย์ผู้สอน อาจารย์
ที่ปรึกษา อาจารย์ที่ท าวิจัย และอาจารย์ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งนักศึกษาที่เป็นผู้ท าวิจัยในรายวิชาศิลปนิพนธ์
โดยสรุปเป็นองค์ความรู้ ได้แก่ แนวทางการปฏิบัติงานวิจัยของนักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี เพื่อน าไป
เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานวิจัยในรายวิชา ศิลปนิพนธ์ มีการปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นตอนที่
1 เตรียมการ ขั้นตอนที่ 2 กระบวนการปฏิบัติงานวิจัย และขั้นตอนที่ 3 การเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะ
7. การเรียนรู้ น าองค์ความรู้ที่ได้รับจากการจัดการความรู้ไปใช้ให้เกิดความส าเร็จในการด าเนินงาน
วิจัยของนักศึกษา โดยอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาน าขั้นตอนไปปฏิบัติ ส่งผลให้มีความเข้าใจสามารถ
ด าเนินการได้ งานส าเร็จรวดเร็วขึ้น ในบางขั้นตอนอาจต้องน ามาพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ผลและอภิปรายผลการด าเนินงาน
การจัดการความรู้เรื่องการด าเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยของนักศึกษา วิทยาลัย
นาฏศิลปจันทบุรี เป็นกระบวนการที่น าไปใช้ร่วมกับการสอนวิชาศิลปนิพนธ์ ของอาจารย์และนักศึกษาชั้นปีที่
4 เป็นวิธีการที่สามารถส่งเสริมและพัฒนาให้กระบวนการท างานวิจัยของนักศึกษามีคุณภาพ โดยมีการจัดเก็บ
องค์ความรู้ ขั้นตอน กระบวนการด าเนินงานจากอาจารย์ที่สอนวิจัย อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย แล้วน าข้อมูล
มาร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อกลั่นกรองจนตกผลึกเป็นองค์ความรู้ จนกระทั่งได้แนวปฏิบัติที่ดีเป็นคู่มือการ
ด าเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานวิจัยของนักศึกษา ส่งผลให้งานวิจัยประสบความส าเร็จอย่างมีคุณภาพ
สามารถน าองค์ความรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม สถาบันและนักศึกษา ได้เป็นอย่างดี โดยมีขั้นตอนการ
ด าเนินงานวิจัย ที่ก าหนดให้ตามล าดับก่อน - หลัง เข้าใจง่าย การด าเนินงานรวดเร็วเป็นไปตามแผน สามารถ
ส่งเล่มวิจัยได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้