Page 11 - Compression Molding Machine 67
P. 11

บทที่ 1



                                                             บทน ำ


               1.1 กรอบแนวคิด


                                                                                                               ี
                      จากกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ช่วง พ.ศ. 2560-2579 [1] เพื่อให้ประเทศไทยมีความมั่งคั่ง ยั่งยืนในอก
               20 ปีข้างหน้าและตามแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาที่ยังยืน ยึดคนเป็นศูนย์กลาง

               การพัฒนา ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาที่ผ่านมาลดความเหลี่ยมล ้า แต่เนื่องจากสังคมโลกท าให้เกิดเป็นห่วงโซ่และมีความ

               ผันผวนจากปัจจัยภายนอก การผลิตทางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี นวัตกรรมและการ

               บริการต่าง ๆ ท าให้ประสบปัญหาในหลายรูปแบบโดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมและมลพิษ ดังนั้นเพื่อเป็นการ

               ลดภาระและใช้ด้านนวัตกรรมที่เหมาะสมต่อสังคมจึงได้มีแนวคิดในการออกเผยแพร่ให้ความรู้ในด้านการใช้ประโยชน์

               จากใบไม้ตามโครงการฯที่ได้รับอนุมัติให้ด าเนินการ


               ในสภาพแวดล้อมของพื้นที่มีผักตบชวาเกิดขึ้นในล าน ้าและเป็นเหตุให้การใช้ประโยชน์เส้นทางล าคลองไม่สะดวกอกทั้ง
                                                                                                            ี
               ก่อความเสียหายให้กับระบบนิเวศน์ โดยต้นผักตบชวาเพียงไม่กี่ต้นในเวลาเพียงเดือนเดียวสามารถขยายได้เป็นพันต้น
               ท าให้คลองหรือล าน ้าตื้นเขินและเน่าเสีย อีกทั้งเมล็ดผักตบชวามีอายุยาวนานมากกว่าสิบปีถ้าสภาวะเหมาะสมก็ท าให้

               เกิดการแตกหน่อขยายพันธุ์ได้โดยง่าย การก าจัดผักตบชวาก็ใช้บุคคลากรจ านวนมากท าให้สิ้นเปลืองงบประมาณในการ

               พัฒนาแหล่งน ้าหรือจ ากัดการเจริญเติบโตเช่นในบางช่วงต้องอาศัยก าลังพลทางทหารช่วยขุดลอกคลองและก าจัด

                                                                                                               ื่
               ผักตบชวาใช้งบจ านวนมหาศาลอย่างในช่วงพุทธศักราช 2557 สมัยนั้นรัฐบาลได้ทุ่มงบประมาณหลายล้านบาทเพอ
               พัฒนาแหล่งน ้าและซึ่งต้องมีการก าจัดผักตบชวาร่วมด้วย


                     หน่วยงานภาครัฐหลายหน่วยงานได้ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือในการน าผักตบชวาไปใช้ประโยชน์หลายอย่างเช่น

               น าไปท าเป็นอาหารสัตว์ ท าปุ๋ย แต่แนวโน้มของผักตบชวาก็ยังไม่ลดลง การน าผักตบชวาไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ

               จึงเป็นทางเลือกที่ดีในการช่วยก าจัดผักตบชวาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชนโดยไม่ให้สูญเปล่า อีกทั้งเส้นใย
               ผักตบชวาเป็นเส้นใยจากธรรมชาติมีส่วนประกอบเส้นใยเซลลูโลส (Cellulose fibers) สามารถน ามาจัดท าเป็นวัสดุ

               หลักในการยึดเกาะตัวด้วยพันธะ C-O-C ในหมู่ไฮดรอกซิล จับกับหมู่ธาตุอื่น ๆ เรียงตัวเป็นระเบียบยึดด้วยพันธะ

               ไฮโดรเจน (Crystalline) ท าให้มีความแข็งแรง เหนียว และน ้าหนักเบา (บวร และคณะ 2555) การน าเส้นใยผักตบชวา

               ไปประยุกต์ใช้ผสมในผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มีการพัฒนาอย่างกว้างขวางเช่นเครื่องจักรสาน กระเป๋า การพัฒนาชุมชนโดย




                                                                                                               8
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16