Page 51 - Compression Molding Machine 67
P. 51

หมายเลข 2 แม่พมพ์ ในรูปที่ 2 สร้างจากโลหะอลูมิเนียมมแบบเป็นลักษณะถ้วยขนาดเล็ก โดยแม่พมพ ์
                                      ิ
                                                                       ี
                                                                                                         ิ
               ด้านล่างเป็นเบ่าก้นถ้วยส่วนด้านบนมีลักษณะแบบเดียวกันแต่กดด้านในของแมพิมพ์ ท าให้วัสดุที่ใส่ไว้ระหว่างกลางมี
                                                                                ่
               การเปลี่ยนรูปตามแม่พมพ์ โดยแม่พมพ์มีร่องขอบของถ้วยเมื่อกดอัดขึ้นรูปเสร็จตามด้วยเสียงเตือนและไฟกระพริบ
                                  ิ
                                             ิ
                                                                          ์
               บอกสถานะจากกล่องควบคุมด้านล่างของแท่นวางแม่พมพ์ ที่ตัวแม่พมพมีตัวท าความร้อนแบบขดลวดสัมผัสกับ
                                                                       ิ
                                                            ิ
               แม่พมพ์ท าให้อลูมิเนียมของแม่พิมพ์ร้อน โดยใช้ตัวตรวจวัดอุณหภูมิแบบ Thermocouple type K เชื่อมต่อไปยัง
                   ิ
               กล่องควบคุมอุณหภูมิที่สามารถปรับค่าอุณหภูมิได้
                   -  หมายเลข 3 กล่องควบคุมในการใช้งานในรูปที่ 2 กรณีเครื่องได้ถูกตั้งค่าอณหภูมิเรียบร้อยแล้วผู้ใช้งานสามารถ
                                                                                  ุ
               เปิดสวิตช์เครื่องที่ด้านข้างกล่องควบคุม เมื่อเปิดสวิตช์แล้วจะมีแสงไฟตัวแสดงผลติด จากนั้นรอให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นตาม

               ตัวแสดงผลสีแดง  จนใกล้เคียงตัวแสดงผลสีเขียวด้านล่างของตัวควบคุมด้านหน้าของกล่องควบคุมในต าแหน่ง  3  บน

               ด้านหน้ามีหลอดไปสีแดง 2 หลอด หลอดบนประกอบด้วยตัวส่งเสียงร่วมด้วย ส่วนหลอดด้านล่างแสดงการท างานของ

               ตัวควบคุม ซึ่งด้านข้างมีตัวตั้งเวลา Timer ที่สามารถตั้งเวลาเป็นนาที เพื่อให้ขดลวดความร้อนท างานตามช่วงระยะเวลา
               ที่ก าหนด ส่วนตัวควบคุมด้านบนเป็นตัวควบคุมชนิด Proportional Integral Derivative Controller หรือเรียกโดยย่อ

               ว่า PID Controller ในรูปที่ 3 เป็นตัวควบคุมแบบอัตโนมัติ เพื่อลดความยุ่งยากในการปรับค่าพารามิเตอร์ ท าให้สะดวก

                                                     ุ
               ต่อการประยุกต์ใช้งาน    กับการใช้งานที่อณหภูมิถึงจุดที่ตั้งค่าไว้และเวลาที่ให้ความร้อนและเสียงเตือนที่เกิดขึ้นต่อ
               ผู้ใช้งาน

                   -

                   -


                                                   1



                                                                                     3


                                             2






                                         รูปที่ 2 องค์ประกอบตัวเครื่องอัดขึ้นรูปแบบกึ่งอัตโนมัติ










                                                                                                              48
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55