Page 22 - Technology and AI for learning transformation through self-development
P. 22
18
ั
ปัญญาประดิษฐ์เข้ามาใช้ในการพฒนาศักยภาพทักษะของบุคลการทางการศึกษา ในการ Re-skill, Up-
skill และ New-skill ในการฝึกปฏิบัติทางด้านทักษะ เช่น ด้าน PLC และ ด้านหุ่นยนต์ ให้บุคลากร
ทางการศึกษาได้เกิดการพฒนาศักยภาพทักษะในการเรียนรู้และสร้างงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งคณะ
ั
ทีมงานได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติให้ความรู้ในการออกแบบกระบวนการท างาน การน าเทคโนโลยีเข้ามาใช้
เพื่อการสร้างงาน การทดลองใช้ ตลอดจนการประเมินผล โดยมีการแบ่งกิจกรรมออก 2 ส่วน ดังนี้
1. กิจกรรมที่ด าเนินการเป็นลักษณะอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะบุคลากรทางการศึกษา
2. การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยีและปัญญาประดิษฐ์
เนื้อหาที่ใช้ในการอบรม
ด้านเทคโนโลยี
- การออกแบบระบบหน้าจอสัมผัสงานอุตสาหกรรมร่วมโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์
- การใช้โปรแกรมควบคุมระบบอัตโนมัติร่วมกับหุ่นยนต์
ด้านปัญญาประดิษฐ์
- การออกแบบโปรแกรมควบคุมการท างานของหุ่นยนต์ต้นแบบ
- การใช้โปรแกรมและออกแบบการควบคุมหุ่นยนต์ด้วยไมโครคอลโทรลเลอร์
โดยใช้วิธีการบรรยายทฤษฎีและฝึกปฏิบัติในการสร้างงาน มีการทดลองใช้และประเมินผล
3.4 เครื่องมือที่ใช้ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
ื่
ในการจัดกิจกรรมพฒนาศักยภาพทักษะด้านเทคโนโลยีและปัญญาประดิษฐ์ เพอการเปลี่ยนแปลง
ั
ทางการเรียนรู้ ผ่านการพัฒนาตนเอง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้มีการน าเครื่องมือเข้ามาใช้ในการจัด
โครงการ ดังนี้
1. ชุดฝึกปฏิบัติ PLC และ ชุดปัญญาประดิษฐ์ (AI)
ื่
2. แบบประเมินผลการจัดกิจกรรมพฒนาศักยภาพทักษะด้านเทคโนโลยีและปัญญาประดิษฐ์ เพอ
ั
การเปลี่ยนแปลงทางการเรียนรู้ ผ่านการพัฒนาตนเอง แบ่งเป็น 3 ตอน
ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไป
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจ ประกอบด้วย
- ด้านวิทยากร - ด้านความรู้ความเข้าใจ
- ด้านการน าความรู้ไปใช้ - คุณภาพการให้บริการ
- ด้านการด าเนินงานโครงการ
ตอนที่ 3 แบบประเมินการ RE-Skill, Up-Skill และ New Skill ประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 : การ RE-Skill (ทักษะใหม่ที่จ าเป็นส าหรับการท างานเดิม)
ส่วนที่ 2 : การ Up-Skill (การยกระดับทักษะเดิมให้สูงขึ้น)
ส่วนที่ 3 : การ New Skill (ทักษะใหม่ส าหรับงานใหม่)
ส่วนที่ 4 : การประเมินผลกระทบและประสิทธิภาพโดยรวม