Page 8 - M.P.A.(State Administration)
P. 8

4


                   ั
                                                                                    ื่
                                                                                        ิ่
                  พฒนาความรู้ การถ่ายทอดความรู้และการปรับใช้เทคโนโลยีจากภายนอก เพอเพมประสิทธิภาพภาคการผลิต
                  ภายในประเทศ ซึ่งการพฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันทุกระดับ ได้ถูกก าหนดไว้อย่างชัดเจนในทิศทางหรือ
                                      ั
                  ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) (ถ้ามีฉบับ

                  ล่าสุดให้ใช้ล่าสุด) รวมถึงการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economics Community - AEC) เพอ
                                                                                                               ื่
                                                                                                        ุ
                  เพมขีดความสามารถการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจระดับโลก ทั้งนี้ส านักงานปลัดกระทรวงการอดมศึกษา
                    ิ่
                  วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เป็นหน่วยงานส่งเสริมให้สถาบันการศึกษา พัฒนาก าลังคนด้านอตสาหกรรมและ
                                                                                                   ุ
                                                            ุ
                  ธุรกิจขนาดกลาง ขนาดย่อมและกลุ่มบริการ ในอตสาหการ 4.0 ที่ต้องการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่
                  “Value–Based Economy” หรือ “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” โดยมีฐานความคิดหลัก คือ เปลี่ยนจาก

                                                                                                  ุ
                  การผลิตสินค้าด้านโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วยภาคอตสาหกรรม ไปสู่
                  การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ที่เน้นย้ าถึงความจ าเป็นในการเปลี่ยนแปลงแนวคิด

                  การจัดการศึกษา การเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดอย่างสร้างสรรค์และเข้ากับบริบทของโลกที่ได้

                  เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นจึงจ าป็นต้องเตรียมพร้อมให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ซึ่งเป็นส่วนส าคัญอย่างยิ่งต่อ

                  การพัฒนาทางเศรษฐกิจ ท าให้เกิดการพัฒนาด้านนวัตกรรม และขยายตัวของภาคการผลิตและบริการอย่างรวดเร็ว

                  และต่อเนื่อง ทั้งในระดับอตสาหกรรมและธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ที่ซึ่งต้องการบุคลากรทางด้านการ
                                         ุ
                                                                                        ั
                  บริหารแห่งรัฐที่มีองค์ความรู้จากผลงานวิจัยและสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ได้ สามารถพฒนาขีดความสามารถในการ
                  แข่งขัน การถ่ายทอดความรู้ และการปรับใช้เทคโนโลยีจากภายนอก เพอเพมประสิทธิภาพ ภาคการผลิต
                                                                                  ื่
                                                                                      ิ่
                  ภายในประเทศ โดยต้องมีการบริหารจัดการองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ ทั้งการพฒนาหรือสร้างองค์ความรู้ รวมถึง
                                                                                    ั
                  การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มาผสมผสานร่วมกับจุดแข็งในสังคมไทยกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ของ

                  กระทรวงการอดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ผนวกด้วยกับแผนกลยุทธ์ที่ส าคัญของมหาวิทยาลัย
                               ุ
                  เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เพอพฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องการ
                                             ื่
                                                ั
                  บุคลากรทางด้านการบริหารแห่งรัฐ ซึ่งมีคุณภาพเป็นจ านวนมาก ที่สอดคล้องกับความต้องการส าหรับการพฒนา
                                                                                                            ั
                  ประเทศในอนาคต


                         การพฒนาบุคลากร นักวิจัย นักวิชาการและนักวิชาชีพในระดับสูง สาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ ต้องเป็น
                              ั
                  บทบาทจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหน่วยงานในมหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา ที่มีความพร้อมในการ

                  ผลิตบุคลากร นักวิจัยและนักวิชาการระดับสูงในสาขาวิชาดังกล่าว ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งที่มีความส าคัญต่อการพฒนา
                                                                                                            ั
                  เศรษฐกิจในภาคการผลิต ท าให้ต้องมีการพัฒนาความรู้ใหม่ ๆ ทางด้านการบริหารแห่งรัฐอย่างต่อเนื่อง สามารถน า

                  ความรู้ใหม่มาบูรณาการกับศาสตร์สาขาอนๆ เพอผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานสากล น าพาให้
                                                            ื่
                                                      ื่






                  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564) วิทยาลัยการบริหารแห่งรัฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13