Page 9 - M.P.A.(State Administration)
P. 9

5


                                 ึ่
                  ประเทศสามารถพงพาเทคโนโลยีด้วยตนเอง สามารถแข่งขันการผลิตนวัตกรรมใหม่ ๆ เชิงพาณิชย์ในตลาดโลกหรือ
                  ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้อย่างยั่งยืน

                    11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม


                                                                    ุ
                         จากการขยายตัวอย่างต่อเนื่องของภาคการผลิตในอตสาหกรรมและความต้องการพงพาเทคโนโลยีตนเอง
                                                                                              ึ่
                               ั
                                                                                ั
                  ก่อให้เกิดการพฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งความส าคัญของการพฒนาเทคโนโลยีนั้นส่งผลต่อการเพม
                                                                                                               ิ่
                  ประสิทธิภาพการผลิต การพงพาเทคโนโลยีตนเองที่เป็นรูปธรรม การบริหารจัดการทรัพยากรทางด้านการบริหาร
                                          ึ่
                  แห่งรัฐ การเพมโอกาสการแข่งขันเชิงพาณิชย์ และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และผลงานวิจัย สิ่งเหล่านี้ล้วนมี
                              ิ่
                                                   ื่
                  ผลต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และเพอสร้างความมั่นคงให้กับประชาคม ชุมชนและธุรกิจ การเปลี่ยนแปลง
                  ดังกล่าวต้องมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในผลกระทบต่อสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม จะช่วย

                  การเปลี่ยนแปลงการพัฒนาประเทศในรูปแบบที่เหมาะสมกับวิถีสังคมไทย รวมถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-long
                  Learning) ทั้งนี้การพฒนาสังคมและวัฒนธรรมที่ดีจะต้องสอดคล้องกับมาตรฐานสากล ตามข้อตกลงว่าด้วย
                                    ั
                  ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) ซึ่งต้องมีการแข่งขันสูงด้านการเคลื่อนย้าย

                  แรงงาน นักวิจัยและนักวิชาการสายวิชาชีพ ระหว่างกลุ่มประเทศอาเซียนที่มีข้อตกลงร่วมกัน การวางแผนพฒนา
                                                                                                            ั
                  หลักสูตรที่ต้องค านึงถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ที่เป็นทั้งโอกาสและผลกระทบต่อสังคม และ

                  ประเทศไทยมีโอกาสมากขึ้นในการพฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ในด้านการบริหารแห่งรัฐ สามารถน าองค์ความรู้จาก
                                                 ั
                  การวิจัย มาสนับสนุนการพฒนาภูมิปัญญา ท้องถิ่นและสร้างมูลค่าเพมจนเป็นสินทรัพย์ทางปัญญา ที่สร้างมูลค่า
                                         ั
                                                                            ิ่
                                             ั
                                                                                 ั
                  ทางเศรษฐกิจได้ กระบวนการพฒนาทุกขั้นตอนต้องใช้ความรอบรู้ในการพฒนา ด้วยความรอบคอบและเป็นไป
                  ตามล าดับขั้นตอน ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของสังคมไทยรวมทั้งการเสริมสร้างศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรมในการ
                                                                                       ี
                  ปฏิบัติหน้าที่ และการด าเนินชีวิตด้วยความเพยร ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยง อนเป็นภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
                                                         ี
                                                                                           ั
                  พร้อมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นระดับครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ นอกจากนี้ยังต้องให้
                  ความส าคัญกับการพฒนาก าลังคน ให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์และสร้างนวัตกรรม ความรู้ใหม่ ๆ และการ
                                   ั
                  พัฒนาบุคลากรในสาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ ต้องค านึงถึงความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการสร้างและประยุกต์ใช้

                  ความรู้ใหม่ เพื่อการพฒนางานและสังคม มุ่งมั่นให้มีความสามารถในการค้นคว้าวิจัยเพอสรรค์สร้างความรู้ใหม่หรือ
                                                                                         ื่
                                    ั
                  นวัตกรรมซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพฒนางาน สังคมและประเทศชาติ นอกจากนี้ยังต้องให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ
                                               ั
                  ด้านในระดับมาตรฐานสากล เพื่อน าไปสู่การสร้างและจ้างงานที่มีคุณค่าสูงในยุคเศรษฐกิจและสังคม ที่ใช้เทคโนโลยี

                  ดิจิทัลเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนสังคม และเปิดโอกาสให้มหาบัณฑิตได้ท างานด้านการวิจัยกับบริษัทข้ามชาติ
                  หรือมีโอกาสไปท างานต่างประเทศมากขึ้น หลักสูตรจึงฝึกทักษะการสื่อสารด้วยภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะ

                  ภาษาองกฤษให้มากขึ้น เพอให้มหาบัณฑิตมีทักษะในการน าเสนอบทความจากผลงานวิจัย ในที่ประชุมระดับ
                                         ื่
                        ั
                  นานาชาติ มีทั้งความรู้และความสามารถที่จะเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลใหม่ ๆ ได้อย่างรวดเร็ว และรองรับการ
                  เปลี่ยนแปลงดังกล่าว สอดคล้องและเหมาะสมกับวิถีสังคมไทย อาเซียนและสังคมโลกในยุคดิจิทัล




                  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564) วิทยาลัยการบริหารแห่งรัฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14