Page 10 - M.P.A.(State Administration)
P. 10
6
12. ผลกระทบจาก ข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย
12.1 การพัฒนาหลักสูตร
ั
ผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอก ในการพฒนาหลักสูตรจึงจ าเป็นต้องพฒนาหลักสูตรในเชิงรุกที่มี
ั
ศักยภาพ ที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามวิวัฒนาการของเทคโนโลยียุคดิจิทัล โดยเฉพาะสาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ
ื่
จ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องวางแผนในการบริหารหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพอฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิด
สมรรถนะด้านผลงานวิจัย การสร้างนวัตกรรม การแสดงออกเชิงสร้างสรรค์รวมไปถึงฝึกฝนทักษะให้เกิดการสรรค์
ั
สร้างความรู้ใหม่ ที่จ าเป็นต่อการท างานเชิงวิจัย เพื่อรองรับการแข่งขันการท างานด้านการวิจัยพฒนาเทคโนโลยีทั้ง
ในประเทศและต่างประเทศ การผลิตมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐนี้ จ าเป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้มีความรู้
ื่
ความเข้าใจในกระบวนการสร้างและประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่เพอการพัฒนางานและสังคม และมีความสามารถในการ
สร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ เชื่อมโยงและบูรณาการศาสตร์ที่ตนเชี่ยวชาญกับศาสตร์อนได้อย่าง
ื่
ต่อเนื่อง มีคุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาการและวิชาชีพ และให้เป็นไปตามนโยบายและวิสัยทัศน์ของ
มหาวิทยาลัย โดยสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
ตามแผนพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) (มีฉบับล่าสุดให้ใช้ล่าสุด) การ
ั
ื่
ั
พฒนาบุคลากร นักวิจัยและนักวิชาการในระดับสูงสาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ เพอรองรับการเจริญเติบโตทาง
ั
ั
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของประเทศ เป็นภารกิจหลักอนหนึ่ง การพฒนาและเสริมสร้างความรู้ใหม่
โดยเฉพาะทางด้านการบริหารแห่งรัฐ จ าเป็นต้องมีการเรียนการสอนที่มีกระบวนการวิจัยเป็นหลักในการศึกษา ซึ่ง
ื่
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐนี้ ได้ถูกพฒนาขึ้นเพอตอบสนองต่อความ
ั
ุ
ต้องการในการผลิตบุคลากร นักวิจัยและนักวิชาการ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอดมศึกษาแห่งชาติ ที่จะมี
ความรู้ความสามารถอย่างน้อย ดังนี้
1) ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในทฤษฎีผลการวิจัยและพฒนาการล่าสุดในระดับแนวหน้าทางวิชาการหรือ
ั
การปฏิบัติในวิชาชีพ และสิ่งที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการเหล่านี้ต่อองค์ความรู้ในสาขาวิชา
ื่
2) ความรอบรู้และความสามารถในการใช้เทคนิคการวิจัย เพอศึกษาค้นคว้าในระดับสูงเพอใช้ในวิชาการ
ื่
หรือการปฏิบัติทางวิชาชีพ และใช้เทคนิคเหล่านี้ในการด าเนินการวิจัยที่ส าคัญหรือท าโครงการค้นคว้า
ในวิชาชีพ
3) ความสามารถในการสังเคราะห์ และประยุกต์ใช้ผลของการวิจัย และพฒนาการใหม่ ๆ ในการปฏิบัติ
ั
ทางวิชาชีพ ในการวิเคราะห์ พฒนาและทดสอบสมมติฐานตลอดถึงการเสนอแนะแนวทางการแก้ไข
ั
ปัญหาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารแห่งรัฐ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2564) วิทยาลัยการบริหารแห่งรัฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร