Page 50 - 3-20discipline
P. 50

5.7 พิจารณาจะเรียกสอบสวน ใครก่อน ใครหลัง
                                   5.8 พิจารณาตั้งประเด็นให้สอดคล้องกับรูปเรื่องในการซักถาม

                                   5.9 จัดเตรียมแบบฟอร์มต่าง ๆ เพื่อด าเนินการสอบสวน
                                   5.10 ศึกษาคดีว่าเป็นมาอย่างไร
                                   5.11 ตรวจสอบภูมิหลังของผู้ถูกสอบสวน
                                                  ื่
                                   5.12 วิเคราะห์เพอก าหนดเวลา สถานที่ เพื่อที่จะให้ผู้ถูกสอบสวนหรือพยานจะไม่เกิด
                                                                            ื่
                       ความวิตกกังวล เครียด โดยก าหนดเวลา สถานที่ที่เหมาะสม เพอเป็นการผ่อนคลายและให้เกิดการ
                       ร่วมมือกันมากขึ้น

                                 6. การจดบันทึกถ้อยค าของผู้ถูกสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวน

                                   ในขั้นตอนการสอบสวนทางวินัยนักศึกษา ถือเป็นขั้นตอนที่มีความส าคัญที่สุดใน
                       กระบวนการสอบสวน เนื่องจากในชั้นนี้ คณะกรรมการสอบสวนวินัยนักศึกษา จักเป็นผู้ด าเนินการ
                       เรียกบุคคล ไม่ว่าจะเป็นผู้ถูกกล่าวหาซึ่งก็คือนักศึกษา พยานบุคคล ซึ่งอาจเป็นนักศึกษา เพอนผู้ถูก
                                                                                                   ื่
                                                                                         ื้
                       กล่าวหา เจ้าหน้าที่ หรืออาจารย์ ที่เห็นเหตุการณ์ รวมทั้ง ออกตรวจพนที่ หรือแสวงหา
                       พยานหลักฐานต่างๆ เพื่อประกอบและพิสูจน์ความผิดของผู้กระท า ซึ่งในชั้นนี้จึงถือเป็นกระบวนการที่

                       มีความส าคัญ และในกระบวนการสอบสวน กระบวนการบันทึกถ้อยค า หรือสอบปากคาบุคคล หรือผู้
                       ถูกกล่าวหา เป็นกระบวนการที่มีความส าคัญเป็นอนมาก เนื่องจาก บุคคลมีสภาพร่างกาย และจิตใจ
                                                                ั
                       ไม่เหมือนพยานวัตถุที่จะไม่มีวันเปลี่ยนแปลง ดังนั้น การจดบันทึกถ้อยค าของผู้ถูกสอบสวนหรือ
                       สอบปากค า จึงมีความส าคัญ และคณะอนุกรรมการสอบสวนวินัยนักศึกษา สามารถด าเนินการได้ดังนี้
                                   6.1 ต้องให้ผู้ถูกสอบสวนเล่าทุกสิ่งทุกอย่างที่รู้เห็นมาเกี่ยวกับข้อเท็จจริงนั้น ด้วยวาจา
                       ตั้งแต่ต้นจนจบและซักถามจนเข้าใจเรื่องราวจากการให้ถ้อยค า จนกระจ่างที่สุดจึงเริ่มบันทึก ซึ่งอาจ
                       ใช้เครื่องบันทึกเสียงในการสอบสวนได้ แต่ทั้งนี้ เป็นสิทธิของผู้ถูกสอบสวนที่จะอนุญาตให้บันทึกเสียง

                                                                                                 ั
                       หรือไม่ก็ได้ หากผู้ถูกสอบสวนไม่อนุญาตให้บันทึกเสียง ผู้สอบสวนต้องบันทึกเป็นลายลักษณ์อกษรแทน
                                   6.2 การจดบันทึกต้องจดให้ตรงกับที่ให้ถ้อยค าและตรงประเด็น
                                   6.3 ผู้ซักถามจะถามอย่างไร ผู้บันทึกต้องรู้ว่าข้อกล่าวหามีประเด็นอย่างไร

                                                   ิ
                                   6.4 ผู้บันทึกต้องพจารณาถึงผู้ถูกสอบสวนที่ให้ถ้อยค าว่าเป็นใครบ้าง เช่น เป็นพยาน
                       เป็นผู้ถูกกล่าวหา หรือเป็นผู้กล่าวหา เป็นต้น
                                   6.5 ต้องบันทึกผู้รู้เห็นเหตุการณ์ทุกคน แม้จะมีข้อเท็จจริงเหมือนกัน
                                   6.6 ค าว่า “ไม่รู้” “ไม่เห็น” จะต้องบันทึกไว้อย่าปล่อยทิ้งไว้

                                                                    ์
                                   6.7 พยานแวดล้อมในกรณีไม่มีประจักษพยานเป็นเรื่องส าคัญ
                                   6.8 การสอบถามปากค าและการให้ถ้อยค าต้องสอดคล้องกันในตัว คือ ใครท าอะไร
                       กับใคร ที่ไหน เมื่อไร ท าท าไม ท าอย่างไร ผลเป็นอย่างไร
                                   6.9 ผู้ถูกสอบสวนให้ถ้อยค าพาดพิงใคร ต้องสอบปากค าผู้ที่ถูกพาดพงถึงด้วย
                                                                                           ิ
                                   6.10 เมื่อบันทึกถ้อยค าผู้ถูกสอบสวนเรียบร้อยแล้ว ต้องให้ผู้ถูกสอบสวนอานถ้อยค า
                                                                                                 ่
                       ที่บันทึกไว้ หรืออ่านให้ผู้ถูกสอบสวนฟงอกครั้งหนึ่ง แล้วบันทึกว่า “อานแล้ว” หรือ “อานให้ฟงแล้ว”
                                                                               ่
                                                                                                    ั
                                                                                              ่
                                                        ี
                                                      ั
                       รับรองว่าถูกต้องจึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน
                                   6.11 การสอบสวนเพมเติมทุกครั้งต้องอานข้อความถ้อยค าที่บันทึกไว้เดิม
                                                                         ่
                                                       ิ่
                       ให้ผู้ถูกสอบสวนฟังก่อนทุกครั้ง
                       คู่มือปฏิบัติงาน : ด้านวินัยนักศึกษา                                              หน้า | 44
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55