Page 90 - 5-15officerleave
P. 90
87
ั
หรือไม่ให้พิจารณา ดังนี้ เช่น นาย ก ป่วยเป็นโรคมะเร็งต้องพกรักษาตัวโดยยื่นใบลาป่วยตามใบรับรองแพทย์
ี
45 วัน ต่อมาแพทย์ให้ลาหยุดต่ออก 45 วัน กรณีนี้ถือว่าเป็นระยะเวลาต่อเนื่องกันให้นับเป็นการลาครั้งหนึ่ง
จึงเท่ากับ นาย ก ลาป่วย 90 วัน ซึ่งเกินอานาจของผู้อานวยการ ให้เสนอขออนุญาตการลาต่ออธิการบดี
โดยไม่จ าเป็นต้องยกเลิกใบลาเดิม
1.3 ระบบการลาออนไลน์
ระบบการลาออนไลน์ยังไม่รองรับการลาในกรณีที่ลาแบบมีเศษครึ่งวัน เช่น ลาวันครึ่ง สองวันครึ่ง
เป็นต้น
แนวทางแก้ไข
ในกรณีที่ลาแบบมีเศษครึ่งวัน เช่น ลาวันครึ่ง สองวันครึ่ง ในกรณีนี้ระบบการลาออนไลน์
ยังไม่รองรับ วิธีแก้ปัญหาส าหรับการลาในกรณีนี้คือ การบันทึกข้อมูลการลาในระบบลาออนไลน์ (การคีย์
ใบลา) ให้ท า 2 ครั้ง เช่น ถ้าลาวันครึ่งคีย์ใบลา 1 วัน 1ครั้ง และคีย์ใบลา ครึ่งวันอีก 1 ครั้ง
1.4 ระเบียบเกี่ยวกับการลา
บุคลากรยังไม่ค่อยทราบระเบียบหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการลา ท าให้วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการลา
แต่ละประเภทไม่ถูกต้องตามขั้นตอน และอาจเกิดความล่าช้า
แนวทางแก้ไข
ในกรณีที่บุคลากรในหน่วยงานยังไม่ค่อยทราบระเบียบหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการลา ท าให้วิธีการ
ปฏิบัติเกี่ยวกับการลาแต่ละประเภทไม่ถูกต้องตามขั้นตอน มีวิธีการแก้ปัญหา ดังนี้คือ
1. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ภายในหน่วยงงาน โดยให้บุคลากรที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การ
ลา ให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการลา วิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการลาในแต่ละประเภท เพอให้บุคลากร
ื่
ึ
เกิดความรู้ความเข้าใจและทราบถึงสิทธิประโยชน์อนพงจะได้รับเกี่ยกับการลาประเภทต่างๆ และ
ั
จะได้ปฏิบัติได้ถูกต้องตามระเบียบ และเป็นแนวทางเดียวกัน
2. บุคลากรในหน่วยงานสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับการลา ได้จากระเบียบคณะกรรมการบริหารงาน
บุคคลส าหรับพนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ว่าด้วยวันเวลาท างาน
หลักเกณฑ์การลา และการจ่ายค่าตอบแทนระหว่างลาของพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550 ได้จาก เว็ปไซต์
กองบริหารงานบุคคล งานทะเบียนประวัติและบ าเหน็จ
คู่มือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการลาของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ส านักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร