Page 33 - 5-3durablegoods
P. 33
๒๔
การเก็บและการบันทึก
ข้อ 203 เมื่อเจ้าหน้าที่ได้รับมอบพัสดุแล้ว ให้ด าเนินการ ดังต่อไปนี้
1) ลงบัญชีหรือทะเบียนเพอควบคุมพสดุ แล้วแต่กรณี แยกป็นชนิด และแสดงรายการตาม
ั
ื่
ตัวอย่างที่คณะกรรมการนโยบายก าหนด โดยให้มีหลักฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบียนไว้ประกอบ
รายการด้วย
ส าหรับพัสดุประเภทอาหารสด จะลงรายการอาหารสดทุกชนิดในบัญชีเดียวกันก็ได้
2) เก็บรักษาพสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัย และครบถ้วนถูกต้องตรงตามบัญชี
ั
หรือทะเบียน
การเบิกจ่ายพัสดุ
ั
ั
ข้อ 204 การเบิกพสดุจากหน่วยพัสดุของหน่วยงานของรัฐ ให้หัวหน้างานที่ต้องใช้พสดุนั้นเป็นผู้
เบิก
การบ ารุงรักษา
ั
ข้อ 212 ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีผู้ควบคุมดูแลพสดุที่อยู่ในความครอบครองให้อยู่ในสภาพที่
พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา โดยให้มีการจัดท าแผนการซ่อมบ ารุงที่เหมาะสมและระยะเวลาในการซ่อม
บ ารุงด้วย
ั
ในกรณีที่พสดุเกิดการช ารุด ให้หน่วยงานของรัฐด าเนินการซ่อมแซมให้กลับมาอยู่ในสภาพพร้อม
ใช้งานโดยเร็ว
การตรวจสอบพัสดุประจ าปี
ข้อ 213 ภายในเดือนสุดท้ายก่อนสิ้นปีงบประมาณของทุกปี ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐหรือ
ั
ั
หัวหน้าหน่วยพสดุตามข้อ 205 แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพสดุซึ่งมิใช่เป็นเจ้าหน้าที่ตามความ
ั
ั
จ าเป็น เพอตรวจสอบการรับจ่ายพสดุในงวด 1 ปีที่ผ่านมา และตรวจนับพสดุประเภทที่คงเหลืออยู่เพยง
ื่
ี
วันสิ้นงวดนั้น
ั
ในการตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง ให้เริ่มด าเนินการตรวจสอบพสดุในวันเปิดท าการวันแรกของ
ั
ปีงบประมาณเป็นต้นไป ว่าการรับจ่ายถูกต้องหรือไม่ พสดุคงเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบัญชีหรือทะเบียน
ั
หรือไม่ มีพสดุใดช ารุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไปเพราะเหตุใด หรือพสดุใดไม่จ าเป็นต้องใช้ในหน่วยงาน
ั
ของรัฐต่อไป แล้วให้เสนอรายงานผลการตรวจสอบดังกล่าวต่อผู้แต่งตั้งภายใน ๓๐ วันท าการ นับแต่วัน
ั
เริ่มด าเนินการตรวจสอบพสดุนั้นเมื่อผู้แต่งตั้งได้รับรายงานจากผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพสดุแล้ว ให้
ั