Page 28 - 5-5newsletter
P. 28

22



                                 3) ประเภทของสิ่งพิม   ์
                                                                                       ์
                                                       ั
                                                                                     ิ
                                                                                                          ิ
                                     การเลือกใช้ตัวอกษรควรค านึงถึงประเภทของสิ่งพมพด้วย หากเป็นสื่อสิ่งพมพ   ์
                                                            ่
                                                                         ่
                                         ์
                                      ิ
                       ประเภทหนังสือพมพ หรือจดหมายข่าว ผู้อานต้องใช้เวลาอานไม่นานนักนั้น ตัวอกษรที่ใช้สามารถใช้
                                                                                            ั
                                                                                                   ั
                       ขนาดค่อนข้างเล็ก คือ ประมาณ 12-14 พอยต์ ส าหรับภาษาไทย 8- 10 พอยต์ ส่วนภาษาองกฤษขึ้นอยู่
                             ั
                                        ิ
                                                                                ั
                                                 ื่
                                           ์
                       กับตัวอกษรหรือตัวพมพที่ใช้ เพอให้สามารถบรรจุข้อความที่เป็นตัวอกษรได้มากและประหยัดกระดาษที่
                       ใช้ในการพิมพ์
                           3.4.5 ขนาดสิ่งพิมพ  ์
                                               ิ
                                                  ์
                               โดยทั่วไปสิ่งพมพแปดหน้ายก หรือขนาดที่มีความกว้างเท่ากับ 71-2 นิ้ว และความยาว
                       บรรทัด หมายถึง ความยาวของบรทัดข้อความที่เรียงกันในแต่ละแถวของคอลัมน์ที่ปรากฎในหน้าสิ่งพมพ์
                                                                                                          ิ
                       การวัดความยาวบรรทัดนิยมวัดในหน่วยไพก้า (pica) โดยมีหน่วยเทียบดังนี้
                              6 ไพก้า  = 1 นิ้ว
                              1 ไพก้า   = 1/6 นิ้ว = 0.167 นิ้ว
                              การก าหนดความยาวบรรทัด ควรค านึงถึงความเหมาะสมและความสวยงาม ไม่ควร
                       ก าหนดให้สั้น หรือยาวเกินไป เช่น ควรเป็นระยะที่ลูกนัยน์ตาของผู้อ่านสามารถกลอกจากด้านซ้ายไปขวา
                           ่
                       แล้วอานได้หมดบรรทัดพอดี การก าหนดความยาวบรรทัดที่ยาวเกินไปจะท าให้เกิดผลเสียหลายประการ
                       คือ
                                             ่
                               1) ท าให้ผู้อานกะพริบตาบ่อยครั้ง เพราะขณะอานสายตาผู้อานจะอานเป็นช่วง หรือเป็น
                                                                           ่
                                                                                     ่
                                                                                           ่
                       ระยะ และต้องมีหยุดพักทกครั้งที่มีการกะพริบตา และตาผู้อ่านปรับโฟกัส หรือความคมชัดทุกครั้งก่อนจะ
                                            ุ
                       อ่านข้อความช่วงต่อไป
                                                                                 ่
                                                  ่
                              2) ไม่สะดวกกับผู้อาน เนื่องจากข้อความยาวเกินไป ผู้อานอาจต้องกรอกสายตา และส่าย
                       ศีรษะมาก
                              3)  ผู้อ่านหลงบรรทัด เนื่องจากการขึ้นบรรทัดใหม่ภายหลังการอ่านบรรทัดที่ยาวเกินไป

                                                                                         ิ
                              4) การกาหนดบรรทัดสั้นเกินไป ท าให้ไม่สวยงามในการจัดหน้าสิ่งพมพ์ เนื่องจากต้องหักคา

                       บ่อย ท าให้การอ่านจับใจความท าได้ยาก
                           3.4.6 ช่วงบรรทัด หรือระยะห่างระหว่างบรรทัด
                                   ช่วงบรรทัด หรือระยะห่างระหว่างบรรทัด หมายถึง ระยะห่างระหว่างบรรทัดของ
                       ข้อความในแต่ละคอลัมน์ การวัดระยะห่างบรรทัดท าได้โดยการวัดระยะห่างส่วนบนสุด หรือส่วนล่างสุด

                       ของบรรทัดหนึ่งส่วนบนสุด หรือส่วนล่างสุดของบรรทัดที่อยู่ถัดไปตามล าดับหรือวัดจากฐานบนสุด หรือ
                       ฐานล่างของบรรทัดหนึ่ง ถึงฐานบน หรือฐานล่างของบรรทัดที่อยู่ถัดไปตามล าดับ การวัดช่วงบรรทัด หรือ
                       ระยะห่างระหว่างบรรทัดนิยมใช้หน่วยพอยต์

                                 การก าหนดให้มีช่วงบรรทัดระหว่างขอความ จะช่วยเพมความสวยงามในการจัดหน้าและ
                                                                                 ิ่
                                                                  ้
                       เกิดความสบายตาในการอ่าน ระยะระหว่างบรรทัดนั้นไม่มีเกณฑ์ก าหนดที่แน่นอนขนอยู่กับตัวอักษร หรือ
                                                                                           ึ้
                          ิ
                             ์
                                      ั
                                                                           ั
                       ตัวพมพ ขนาดตัวอกษรที่ใช้และความเหมาะสม โดยทั่วไปตัวอกษรภาษาไทยขนาด 12- 16 พอยต์ การ
                       ก าหนดช่วงบรรทัดจะใช้ขนาดตัวอักษรบวกกับระยะ 1, 2 หรือ 3 พอยต์








                                                        ื
                                                      ค่มอการปฏบัตงานจดหมายข่าวมหาวทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร(Newsletter)
                                                       ู
                                                                ิ
                                                                              ิ
                                                             ิ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33