Page 29 - 5-5newsletter
P. 29
23
3.4.7 การเลือกใช้ภาพประกอบในการออกแบบและจัดหน้าสิ่งพิมพ ์
ภาพเป็นสื่อที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อผู้เห็นอย่างมาก การใช้ภาพประกอบที่เหมาะสมใน
ิ
์
ิ
ิ่
์
สื่อสิ่งพมพเป็นการเพมคุณค่า และคุณภาพให้กับสิ่งพมพมากขึ้น การเลือกใช้ภาพประกอบอย่างมี
ประสิทธิภาพต้องค านึงถึงปัจจัยหลายด้าน เช่น ประเภทสิ่งพมพ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่ได้รับจากการ
์
ิ
ใช้ภาพประกอบ งบประมาณ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา ภาพประกอบที่มีคุณค่ากับสิ่งพมพหนึ่งอาจด้อย
ิ
์
ค่าส าหรับสิ่งพิมพ์ประเภทอื่นได้
1) การเลือกใช้ภาพถ่าย
ิ
ภาพถ่ายเป็นภาพเสมือนจริงตามลักษณะธรรมชาติ จึงนิยมใช้ภาพถ่ายในสื่อสิ่งพมพ์
์
ิ
โดยเฉพาะในสื่อมวลชนไม่ว่าจะเป็นหนังสือพมพ หรือวิทยุโทรทัศน์ในการรายงานเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่
เกิดขึ้น ที่ส าคัญเป็นหลักฐานยืนยันความเป็นจริงที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากการายงานข่าวด้วยข้อความ
เพียงอย่างเดียว ภาพถ่ายจะช่วยให้เกิดความเหมือนจริง และเป็นธรรมชาติ สามารถดึงดูดความสนใจจาก
ผู้พบเห็นได้มาก โดยเฉพาะสื่อสิ่งพิมพนิยมใช้ภาพข่าวส าคัญบนหน้าแรกพร้อมทั้งการพาดหัวข่าว อย่างไร
์
ก็ตามภาพที่ใช้ประกอบหนังสือพมพนั้น ต้องมีความหมายในเชิงวารสารศาสตร์ด้วย กล่าวคือ เรื่องราวที่
์
ิ
สามารถบอกให้ผู้อ่านทราบว่าใคร ท าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และท าไม
2) การเลือกใช้ภาพวาด
์
ภาพวาดที่นิยมใช้เป็นภาพประกอบในการท าสิ่งพมพ ได้แก่ ภาพวาดลายเส้น ซึ่งมี
ิ
ลักษณะเด่นที่มีความเรียบง่าย นับเป็นจุดที่ผู้ออกแบบและจัดหน้าควรค านึงถึงในการเลือกใช้
ภาพประกอบ ดังนั้นลายเส้นที่เรียบง่ายจึงเหมาะที่จะใช้เป็นภาพประกอบเพออธิบายเรื่องราว หรือ
ื่
ขั้นตอนที่ซับซ้อนต่อการเข้าใจ โดยวาดเฉพาะส่วนเค้าโครงส าคัญเท่านั้น สามารถสื่อความหมายได้
่
นอกจากนี้ยังช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดให้กับผู้อาน ดังจะเห็นได้จากภาพวาดการ์ตูนที่แทรกตามหน้า
์
สิ่งพิมพ นิตยสาร วารสาร นอกจากนี้ภาพลายเส้นยังช่วยให้กล้ามเนื้อตาได้พักผ่อน สามารถผลิตได้ง่านใน
ราคาที่ประหยัดโดยไม่ใช้กล้องถ่ายภาพ ฟิล์ม เลนส์ในการอัดขยายจัดท าภาพ
3) การเลือกใช้ภาพสกรีน
ภาพสกรีนเป็นภาพทุติยภูมิ กล่าวคือ เป็นภาพที่ผ่านขั้นตอนในการผลิตมาแล้ว จึงไม่
นิยมใช้เป็นภาพต้นฉบับในการจัดท าภาพประกอบสิ่งพมพ และไม่ควรน ามาใช้ในการจัดท าภาพข่าวสด
ิ
์
ตามหนังสือพิมพ์ ยกเว้นกรณีที่ไม่สามารถหาภาพถ่ายได้ การสกรีนอาจใช้ประกอบบทความ บทวิเคราะห์
บทวิจารณ์ ในกรณีที่ไม่สามารถถ่ายทอดเรื่องราวจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ เพราะภาพที่ได้ในขั้นสุดท้าย
คุณภาพไม่ค่อยดีเท่าที่ควร กล่าวคือ มีรายละเอยด ความคมชัด และความเปรียบต่างที่ลดลง ขาดความ
ี
สร้างสรรค์และความเป็นปัจจุบัน
3.4.8 การจัดหน้าภาพประกอบ
ต้องใช้ศิลปะในการจัดท า โดยมีเทคนิคหลายประการที่จะช่วยให้การจัดหน้าภาพประกอบให้
สมบูรณ์ น่าสนใจมากขึ้นด้วยวิธีดังนี้
1) ควรจัดให้มีภาพเด่นในหน้าเพียงภาพเดียว
2) ควรเน้นความเด่นชัดบนบริเวณซ้ายของหน้าด้วยภาพที่โดดเด่น
่
3) ควรเลือกลงเฉพาะภาพส าคัญ หรือภาพที่สื่อความหมายกับผู้อาน เพราะจะท าให้เปลือง
เนื้อที่ของกระดาษ
ู
ค่มอการปฏบัตงานจดหมายข่าวมหาวทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร(Newsletter)
ื
ิ
ิ
ิ