Page 24 - 5-5newsletter
P. 24

18



                                                                                              ์
                                                                                            ิ
                                                                                   ิ
                                                                                     ์
                             กระดาษเคลือบผิว ให้ความคมชัดของเม็ดสกรีน และภาพพมพ จึงใช้พมพงานที่ใช้สกรีนที่มี
                               ี
                       ความละเอยดมากกว่ากระดาษไม่เคลือบผิว ดังนั้น การก าหนดเปอร์เซ็นต์การใช้สีผู้ออกแบบ และจัดหน้า
                       สิ่งพิมพต้องค านึงถึง เช่น หากต้องการสิ่งพิมพ์ที่มีสีพื้นสีเหลืองอ่อน ต้องพิจารณาถึงประเภทกระดาษที่ใช้
                             ์
                                                                                       ิ
                       ถ้าใช้กระดาษทก าหนดเปอร์เซ็นต์สีเหลือง 10 เปอร์เซ็นต์ หมายความว่า ต้องพมพ์สีเหลืองในปริมาณร้อย
                                   ี่
                       ละ 10 ของพนที่ แต่ถ้าเป็นกระดาษปอนด์ หรือกระดาษปรู๊ฟ ซึ่งเป็นกระดาษผิวหยาบ และสามารถดูด
                                  ื้
                       ซึมหมึกมาก ส่งผลให้เม็ดสกรีนบวม (dot gain) ได้ง่าย การก าหนดเปอร์เซ็นต์เม็ดสกรีนเพื่อให้สีที่ก าหนด
                       ปรากฎบนกระดาษอาร์ต ดังนั้นผู้ออกแบบต้องก าหนดเปอร์เซ็นต์การใช้สีพนเท่ากับ 15 -20 เปอน์เซ็นต์
                                                                                     ื้
                       ดังนั้นกรณีใช้กระดาษปอนด์หรือกระดาษปรู๊ฟในการพิมพ ควรก าหนดสีเหลืองในปริมาณร้อยละ 15 - 20
                                                                      ์
                       ของพื้นที่พิมพ  ์

                       3.4 หลักการออกแบบจดหมายข่าว

                                                           ิ
                              3.4.1 การออกแบบและจัดหน้าสิ่งพมพ์จดหมายข่าวประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ (บุษบา สุธีธร.
                       2531)
                                  1) การก าหนดรูปแบบและขนาด เป็นการก าหนดรูปแบบฉพาะตัวของสื่อสิ่งพิมพ เช่น การ
                                                                                                     ์
                         ออกแบบสิ่งพิมพ์ที่มีรูปแบบตัวหนังสือเรียน นิตยสาร หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ จุลสาร โปสเตอร์
                                  2) การท าแบบร่างหยาบ เป็นการแปลงรูปแบบความคิดสู่รูปแบบที่สามารถมองเห็นได้ โดย
                         มักออกแบบเป็นขนาดที่เล็กกว่าของจริง แต่มีขนาดสัดส่วนรูปร่าง และขนาดเสมือนจริง การท าร่าง
                                                                   ิ
                         หยาบอาจท าหลายชิ้นหลายแบบให้เจ้าของเลือกพจารณา ซึ่งมีส่วนส าคัญอย่างหน้าปก การก าหนด
                         ต าแหน่งตัวอกษรนนิยมใช้ตัวอกษรสมมติ (blind text) เช่น ใช้ตัวอกษร ก แทนส่วนที่เป็นข้อความ
                                                   ั
                                    ั
                                                                                  ั
                         ทั้งหมด
                                  3) การท าแบบร่างสมบูรณ์ หรือแบบร่างละเอยด เป็นการท าร่างหยาบให้มีลักษณะที่
                                                                          ี
                                                                                                    ิ
                                                                       ิ
                         ละเอยด และสมบูรณ์ขึ้น นิยมท าให้มีขนาเท่ากับสิ่งพมพจริง โดยใช้กระดาษจริงที่จะพมพ มีการ
                              ี
                                                                          ์
                                                                                                       ์
                                                           ์
                         ก าหนดลักษณะ ขนาด และแบบตัวพมพ หรือแบบตัวอกษร ภาพประกอบที่ใช้สัญลักษณ์แทนขนาด
                                                                        ั
                                                         ิ
                                                                                               ี
                         และช่วงบรรทัด ช่องว่างระหว่างบรรทัดของตัวอกษร นอกจากนี้ยังก าหนดรายละเอยดเทคนิคพเศษ
                                                                                                         ิ
                                                                  ั
                         อื่น ๆ ในการพิมพ์ เช่น สี เปอร์เซ็นต์เม็ดสกรีน
                                  4) การท าดัมม เป็นการท ารูปแบบจ าลองส าเร็จของสิ่งพิมพ์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุม
                                              ี่
                                                                       ั
                                                                                                    ิ
                         การพบ และการจัดหน้า หากสิ่งพมพมีขนาดใหญ่ควรพบกระดาษให้มีลักษณะเป็นรูปสิ่งพมพที่จะท า
                                                                                                      ์
                              ั
                                                        ์
                                                     ิ
                                                                                                   ี
                                                                          ี
                                                 ั
                         เช่น รูปหนังสือ สมุด แผ่นพบ ฯลฯ จากนั้นเขียนรายละเอยดแต่ละหน้า ทั้งนี้ความละเอยดของดัมมี่
                                                                                         ี
                         ขึ้นอยู่กับความซับซ้อน หรือความยากในการท าสิ่งพมพ ดัมมี่ควรมีความละเอยดเพอให้ผู้ปฏิบัติงานใน
                                                                                             ื่
                                                                       ์
                                                                    ิ
                         แต่ละขั้นตอนทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สามารถสื่อความหมายได้ตรงกับผู้ออกแบบสิ่งพมพต้องการ
                                                                                                   ิ
                                                                                                     ์
                         ข้อมูลที่ก าหนดในดัมมี ได้แก่ ขนาดสิ่งพมพ ล าดับเนื้อหา ล าดับเลขหน้า ขนาดและรูปแบบตัวอกษร
                                                             ์
                                                                                                         ั
                                                           ิ
                         รูปแบบคอลัมน์ การวางตัวอกษร นอกจากนี้ควรก าหนดความยาวของบรรทัด ตางรางภาพประกอบ
                                                 ั
                         ขนาดของภาพประกอบ แผนภูมิ การเน้นหัวเรื่อง การวางย่อหน้า ลักษณะการพับ การเก็บเล่ม



                                                                              ิ
                                                        ื
                                                             ิ
                                                                ิ
                                                      ค่มอการปฏบัตงานจดหมายข่าวมหาวทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร(Newsletter)
                                                       ู
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29