Page 26 - 5-5newsletter
P. 26

20



                                                                                          ิ
                         ื่
                       เพอถ่วงดุลด้านที่มีน้ าหนักมากดูไม่หนักมากเกินไป ถือเป็นรูปแบบที่ให้ความอสระในการใช้ความคิด
                       สร้างสรรค์มากกว่าความสมดุลแท้
                                     3) สัดส่วน
                                                                                             ั
                                      ค านึงถึงสัดส่วนในการจัดวางองค์ประกอบ โดยเน้นความสัมพนธ์ของขนาด และ
                                                                            ์
                       รูปร่าง ความสัมพนธ์ระหว่างด้านกว้าง และด้านยาวของสิ่งพิมพ ความเหมาะสมของขนาด รูปแบบ และ
                                     ั
                                      ์
                                                              ิ
                                                                ์
                                   ิ
                       รูปเล่มของสิ่งพมพ การก าหนดสัดส่วนของสิ่งพมพโดยทั่วไปนิยมให้ด้านกว้าง และด้านยาวสอดคล้องกับ
                       สัดส่วนของกระดาษมาตรฐานตามท้องตลาดที่จ าหน่ายทั่วไป ดังนั้น ผู้ออกแบบสิ่งพมพต้องค านึงถึง
                                                                                                  ์
                                                                                               ิ
                                                       ั
                       สัดส่วนกระดาษที่เหมาะสม ขนาดตัวอกษร และภาพประกอบในแต่ละหน้า เช่น ในหนึ่งหน้ากระดาษไม่
                                                                                    ์
                                                                                           ั
                                                                                 ิ
                                         ั
                                                                ิ
                       ควรใช้ตัวอักษรที่ต่างกนมากเกินไป ยกเว้นสื่อสิ่งพมพ์ประเภทหนังสือพมพที่ใช้ตัวอกษรขนาดใหญ่ในการ
                                                                         ่
                                                                                        ิ
                       พาดหัวหลัก และหัวข่าวรอง เพอดึงดูดความสนใจจากผู้อาน หากเป็นสิ่งพมพทั่วไป เช่น นิตยสาร
                                                   ื่
                                                                                           ์

                                                                                                         ื่
                       วารสาร ไม่ควรใช้รูปแบบดังกล่าว เพราะจะทาให้เกิดความไม่สะดวกต่อผู้อ่าน เนื่องจากต้องตัดค าเพอขึ้น
                       บรรทัดใหม่บ่อยครั้ง จึงไม่สวยงาม
                                     4) การเน้นหรือย้ าจุดสนใจ
                                     การเน้นจุดย้ า หรือจุดสนใจในการจัดวางองค์ประกอบ เป็นการวางจุดสนใจที่
                                                      ื้
                                                                        ื่
                                                                                     ิ่
                                                                                                          ิ
                       ส าคัญ หรือเด่นชัดขึ้น แตกต่างจากสีพนและส่วนประกอบอน ซึ่งเป็นการเพมความน่าสนใจให้สื่อสิ่งพมพ์
                       ท าให้สิ่งพิมพ์น่าสนใจ เร้าต่อความรู้สึกของผู้อ่านด้วยการใช้สีโทนตัดกัน ใช้สีขาว – ด า ใช้ตัวอักษรขาวใน
                       พื้นที่ทึบ หรือใช้เนื้อที่ว่างแทรกระหว่างหน้าที่มีเนื้อหามาก มักพบรูปแบบการจัดหน้าลักษณะดังกล่าวใน
                       สิ่งพิมพ์ประเภทโฆษณา
                                     5) การใช้รูปแบบซ้ ากัน
                                     การใช้รูปแบบซ้ ากันในการจัดวางองค์ประกอบ เป็นการจัดวางองค์ประกอบ
                       รูปแบบที่ดูเป็นกลุ่มก้อน โดยใช้รูปแบบที่คล้ายคลึงหรือเหมือนกันวางรวมกัน เพอเพมความแปลกใหม่
                                                                                          ื่
                                                                                              ิ่
                       ความประหลาดและความน่าสนใจให้กับสื่อสิ่งพมพ อีกทงยังเป็นการเน้นข้อความหรือจุดส าคัญที่ต้องการ
                                                              ิ
                                                                     ั้
                                                                ์
                       สื่อความหมายด้วย
                                 6) การใช้เส้นน าสายตาให้เกิดลีลาเคลื่อนไหว
                                     การใช้เส้นน าสายตาเป็นองค์ประกอบ เป็นการใช้เส้นน าสายตาผู้อ่านไปสู่จุดส าคัญ
                                              ิ่
                       ที่ต้องการสื่อความหมาย เพมความมีชีวิตชีวาให้กับรูปแบบ ท าให้ส่วนประกอบต่าง ๆ มีการเคลื่อนไหว
                                                                                                 ่
                                                                                                          ิ
                                     ี
                       จากส่วนหนึ่งไปอกส่วนหนึ่ง ภาพจะดูไม่นิ่งเกินไป และช่วยป้องกันความสับสนจากการอานสื่อสิ่งพมพ ์
                       ด้วยการใช้ลูกศร หรือเส้น อาจเป็นเส้นตรง หรือเส้นโค้งหรือเส้นลักษณะอื่นที่สามารถน าจุดสนใจได้
                                     7) การใช้กรอบหรือพื้นที่เป็นลวดลาย
                                       การใช้กรอบ หรือพนที่เป็นลวดลายเป็นส่วนประกอบ เป็นการเสริมความน่าสนใจ
                                                          ื้
                       ความงาม ความโดดเด่น หรือสร้างอารมณ์ให้เกิดกับภาพ ข้อความและรูปแบบสิ่งพมพด้วยการตกแต่ง
                                                                                               ์
                                                                                             ิ
                       กรอบหรือการวาดลายเป็นการล้อมกรอบรูปภาพ และข้อความ โดยอาจใช้ภาพที่มีลวดลายหรือกระดาษ
                                                                                                          ิ
                       ที่มีลายในตัว ซึ่งจะเพมความโดดเด่น ความสวยงาม แต่ควรใช้ลวดลายที่กลมกลืนกันกับตัวพมพ์
                                          ิ่
                       ตัวอกษร ภาพ และต้องเข้ากับความหมาย และลักษณะของเนื้อหาด้วย ที่ส าคัญไม่ควรใช้กระดาษที่มี
                          ั
                                           ื้
                       ลวดลายเด่นชัด หรือสีพนสีเข้มมาก ๆ เพราะจะท าให้เกิดความเปรียบต่าง (contrast) ข้อความที่ปรากฎ







                                                             ิ
                                                        ื
                                                                ิ
                                                       ู
                                                                              ิ
                                                      ค่มอการปฏบัตงานจดหมายข่าวมหาวทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร(Newsletter)
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31