Page 39 - 6-2parcelcontrol
P. 39

30






                                          ั
                                  ส าหรับพสดุซึ่งต้องจดทะเบียนตามกฎหมาย ให้แจ้งแก่นายทะเบียน ภายในระยะเวลา
                       ที่กฎหมายก าหนดด้วย
                                  ข้อ ๒๑๙ ในกรณีที่พัสดุของหน่วยงานของรัฐเกิดการช ารุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไป หรือไม่

                                                                     ้
                       จ าเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป ก่อนมีการตรวจสอบตามขอ ๒๑๓ และได้ด าเนินการตามกฎหมาย ว่าด้วย
                       ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ หรือระเบียบนี้โดยอนุโลม แล้วแต่กรณีเสร็จสิ้นแล้ว ถ้าไม่มีระเบียบ
                       อื่นใดก าหนดไว้เป็นการเฉพาะ ให้ด าเนินการตามข้อ ๒๑๕ ข้อ ๒๑๖ ข้อ ๒๑๗ และข้อ ๒๑๘ โดยอนุโลม


                       3) หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ว338 ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2546 เรื่อง การจัดทําทะเบียน

                         ทรัพย์สินและการรายงานทรัพย์สิน

                                                                   ี
                                  ก าหนดให้จัดท าทะเบียนคุมทรัพย์สินเพยงแบบเดียว เฉพาะทรัพย์สินที่จัดซื้อจัดหามาใหม่
                       ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป ส่วนรายการทรัพย์สินเดิมที่เคยควบคุมไว้ทั้ง 2 ทะเบียน

                                      ื่
                       ก็ให้คงไว้ตามเดิมเพอการตรวจสอบจะได้เป็นไปอย่างต่อเนื่องจนกว่าทรัพย์สินดังกล่าวจะได้จ าหน่ายจ่ายโอน
                       ออกไปจากส่วนราชการ


                       4) หนังสือสํานักงบประมาณ ที่ นร 0704/ว37 ลงวันที่ 6 มกราคม 2559 เรื่อง แนวทางการพิจารณา

                         สิ่งของที่จัดเป็นวัสดุและครุภัณฑ์ตามหลักการจําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ

                                  ส านักงบประมาณก าหนดแนวทางการพิจารณาสิ่งของที่จัดเป็น วัสดุโดยสภาพและครุภัณฑ ์
                       โดยสภาพ ดังนี้

                                  1. สิ่งของที่จัดเป็นวัสดุ ให้พิจารณาออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
                                  ก. ประเภทวัสดุคงทน ได้แก่ สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทนแต่ตามปกติมีอายุการใช้งาน

                       ไม่ยืนนาน หรือเมื่อน าไปใช้งานแล้วเกิดความช ารุดเสียหาย ไม่สามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้ดังเดิม
                       หรือซ่อมแซมแล้วไม่คุ้มค่า

                                  ข. ประเภทวัสดุสิ้นเปลือง ได้แก่ สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลืองหมดไป
                       แปรสภาพ หรือเปลี่ยนสภาพไปในระยะเวลาอันสั้นหรือไม่คงสภาพเดิม
                                                                                               ุ
                                                 ุ
                                  ค. ประเภทวัสดุอปกรณ์ประกอบและอะไหล่ ได้แก่ สิ่งของที่ใช้เป็นอปกรณ์ประกอบ
                       หรืออะไหล่ ส าหรับการซ่อมแซมบ ารุงรักษาทรัพย์สินให้กลับคืนสภาพดังเดิมที่มีลักษณะเป็นการซ่อม
                       บ ารุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง

                                  2. ครุภัณฑ์ ได้แก่ สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทนถาวร มีอายุการใช้งานยืนนาน เมื่อช ารุด
                       เสียหายแล้วสามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44