Page 34 - 7-6trainingcost
P. 34
30
์
ความรู้หรือประสบการณด้วยการสังเกต ซึ่งก าหนดไว้ในหลักสูตรหรือในโครงการให้มีการดูงานก่อน-ระหว่าง
หรือหลังการฝึกอบรม เพื่อน าผลการดูงานมาแก้ไขประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน หรือน ามาพัฒนาเทคโนโลยี
ให้ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
ิ่
4. การฝึกศกษาและการฝึกงาน เป็นการเพมพูนความรู้หรือประสบการณด้วยการปฏิบัติ
ึ
์
งานซึ่งก าหนดไว้ในหลักสูตรหรือโครงการ หมายรวมถึงการปฏิบัติงานภาคสนามหรือการทดลองการปฏิบัติงาน
ด้วย
บุคคลผู้มีสิทธิเบิกค่าใชจ่ายได้ตามระเบียบ
้
1. ประธานในพิธีเปิดหรือพิธีปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติและผู้ติดตาม
2. เจ้าหน้าที่ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน หรือด าเนินการจัดฝึกอบรม
3. วิทยากรผู้บรรยาย อภิปราย สัมมนา หรือวิทยากรกลุ่มฝึกปฏิบัติ
4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม (บุคลากรของรัฐ/บุคคลที่มิใช่บุคลากรของรัฐ)
5. ผู้สังเกตการณ ์
ค่าใช้จ่ายตามข้อ 1-5 ให้ส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรมเป็นผู้เบิกจ่าย แต่ถ้าจะเบิกจ่ายจากส่วน
ราชการต้นสังกัดให้ท าได้เมื่อส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรมร้องขอและส่วนราชการต้นสังกัดตกลงยินยอม
การเทียบต าแหน่งบุคคลตามข้อ 1, 2, 3 และ 5 ที่มิได้เป็นบุคลากรของรัฐเพื่อเบิกค่าใช้จ่ายในการ
ฝึกอบรมมีดังนี้
1. บุคคลที่เคยเป็นบุคลากรของรัฐมาแล้วให้เทียบตามระดับต าแหน่งหรือชั้นยศครั้งสุดท้าย
ก่อนออกจากราชการหรือออกจากงาน แล้วแต่กรณี
2. บุคคลที่กระทรวงการคลังเคยเทียบต าแหน่งไว้แล้ว
3. วิทยากรในการฝึกอบรมประเภท ก ให้เทียบเท่าข้าราชการต าแหน่งประเภทบริหารระดับสูง
ส าหรับวิทยากรในการฝึกอบรมประเภท ข และวิทยากรในการฝึกอบรมบุคคลภายนอกให้เทียบเท่า
ข้าราชการต าแหน่งประเภทอานวยการระดับต้น
4. นอกจากบุคคลในข้อ 1, 2 หรือ 3 ให้หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณพิจารณา
เทียบต าแหน่งตามความเหมาะสม โดยถือหลักการเทียบต าแหน่งของกระทรวงการคลังตามข้อ 2 เป็นเกณฑ์
ในการพิจารณา
5. การเทียบต าแหน่งผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มิได้เป็นบุคลากรของรัฐ เพื่อเบิกค่าใช้จ่ายให้
ส่วนราชการที่เป็นผู้จัดฝึกอบรมเทียบต าแหน่ง ดังนี้
(1) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการฝึกอบรมข้าราชการประเภท ก ให้เทียบได้ไม่เกินสิทธิของ
ข้าราชการต าแหน่งประเภทบริหารระดับสูง
(2) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมในการฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข ให้เทียบได้ไม่เกินสิทธิของ
ข้าราชการต าแหน่งประเภทอานวยการระดับต้น