Page 10 - 7internalqa
P. 10

4







                                                            ิ
                       และเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยให้พจารณาองค์ประกอบที่ส าคัญ ได้แก่ การก ากับมาตรฐาน
                       บัณฑิต นักศึกษา อาจารย์ หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และสิ่ง สนับสนุนการเรียนรู้

                       เพื่อให้สามารถผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ
                              การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)  หมายถึง กระบวนการหรือกลไกภายในสถาบัน หรือ

                                  ื่
                       ระบบที่มีไว้เพอมั่นใจว่า การปฏิบัติงานบรรลุถึงมาตรฐานแห่งคุณภาพ การด าเนินงาน ได้ตามแผนที่
                       วางไว้อย่างรัดกุมทุกขั้นตอน เพื่อก ากับดูแลและพัฒนาการด าเนินงานให้บรรลุตามเกณฑ์ที่ก าหนด
                              การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit)  หมายถึง การตรวจสอบการด าเนินการ การควบคุม

                       คุณภาพโดยหน่วยงานภายในหรือภายนอกก็ได้ว่าเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดขึ้นหรือไม่ เป็นกระบวนการ
                       ตรวจสอบว่า สถาบันอุดมศึกษามีกลไกที่เหมาะสมในการควบคุมคุณภาพ

                              การรับรองคุณภาพ (Quality Accreditation) หมายถึง การรับรองหรือไม่รับรองคุณภาพ

                       ตามมาตรฐาน โดยการประเมินว่าสถานศึกษาได้ด าเนินการครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐานที่ก าหนด
                              การประเมนคุณภาพ (Quality Assessment)  หมายถึง กระบวนการประเมินผลการด าเนินการ
                                      ิ
                       ของสถาบันการศึกษาโดยภาพรวมว่า เมื่อได้มีการใช้ระบบการประกันคุณภาพ หรือระบบควบคุมคุณภาพ

                       แล้วได้ท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงคุณภาพมากน้อยเพียงใด
                              การปรับปรุงคุณภาพ (Quality Improvement) เป็นการปรับเปลี่ยนวิธีปฏิบัติงานในทางที่

                       ดีขึ้น ให้เกิดประสิทธิภาพ/ ผลมากขึ้น
                              ดัชนีบ่งชี้คุณภาพ  หมายถึง ตัวบ่งชี้ว่าการด าเนินงานในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพเป็นไป

                       ตามเกณฑ์ และมาตรฐานการศึกษาที่ก าหนด

                                                                                    ึ
                              มาตรฐานการศึกษา หมายถึง ข้อก าหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พงประสงค์และมาตรฐานที่
                       ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพอใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงส าหรับการส่งเสริม
                                                               ื่
                       และก ากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา
                              ระบบ หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการก าหนดอย่างชัดเจนว่าต้องท าอะไรบ้าง เพอให้
                                                                                                      ื่
                       ได้ผลออกมาตามที่ต้องการ ขั้นตอนการปฏิบัติงานจะต้องปรากฏให้ทราบโดยทั่วกันไม่ว่าจะอยู่ในรูปของ

                       เอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือโดยวิธีการอน ๆ องคประกอบของระบบ ประกอบด้วย ปัจจัยน าเข้า
                                                            ื่
                                                                   ์
                       กระบวนการ  ผลผลิต และข้อมูลป้อนกลับ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
                              กลไก หมายถึง สิ่งที่ท าให้ระบบมีการขับเคลื่อนหรือด าเนินอยู่ได้ โดยมีการจัดสรรทรัพยากร

                       มีการจัดองค์กร  หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลเป็นผู้ด าเนินงาน
                              อาจารย์ประจ า หมายถึง บุคคลที่ด ารงต าแหน่งอาจารย์  ผู้ช่วยศาสตราจารย์  รองศาสตราจารย์

                       และศาสตราจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรนั้น ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของ

                       การอุดมศึกษาและปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15