Page 7 - 7internalqa
P. 7

บทที่ 1

                                                             บทน า




                       1.1  ความเป็นมาและความส าคัญ

                              ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัฒน์ (Globalization) ท าให้เกิดการสื่อสารไร้พรมแดน หรือเป็น
                       ยุคของข้อมูลข่าวสาร (Information Technology) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆ อย่าง

                       รวดเร็ว ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา และวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผล

                       ให้บุคคลต้องมีการเรียนรู้ที่จะปรับตัวให้ทันกับยุคและสมัย การที่บุคคลจะเรียนรู้และปรับตัวได้ดี อนเนื่อง
                                                                                                    ั
                       มาจากการได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ และการศึกษาที่มีคุณภาพจ าเป็นต้องมีระบบการศึกษาและการ

                       จัดการระบบที่ดี มีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านการบริหารจัดการหลักสูตรการ

                       เรียนการสอน การพัฒนาครู การพัฒนาสื่อ และแหล่งการเรียนรู้ ตลอดจนการสร้างความร่วมมือและ
                       การประสานสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรต่างๆ

                                                                                           ั
                              การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) เป็นแนวคิดที่น าหลักการประกนคุณภาพทางภาค
                       อุตสาหกรรมและการบริการมาใช้ เพอให้เกิดความพงพอใจแก่ลูกค้า ซึ่งลูกค้าในที่นี้ คือ ผู้ปกครอง ชุมชน
                                                    ื่
                                                                ึ
                                                                                ุ
                                                                                            ื่
                       และสังคม การประกันคุณภาพเป็นเทคนิคในการบริหารงานของภาคอตสาหกรรม เพอที่จะท าให้ผลิต
                       ต่างๆ ที่ผลิตออกมามีคุณภาพ ซึ่งคณภาพจะเน้นเรื่องความพงพอใจของลูกค้าเป็นส าคัญ ไม่ว่าจะเป็น
                                                                        ึ
                                                   ุ
                       ความต้องการจริง (Need) หรือ ความคาดหวัง (Expectation) ซึ่งจะขอกล่าวถึงความเป็นมาของคุณภาพ
                       พอสังเขปดังนี้ เริ่มต้นในสมัยโบราณ ในการแลกเปลี่ยนสินค้า มีความไว้วางใจซึ่งกันและกันท าให้ใน

                       ยุคโบราณนั้นไม่จ าเป็นต้องมีการตรวจสอบเกี่ยวกับคุณภาพของสินค้า ต่อมาการแลกเปลี่ยนสินค้ามี
                       วิวัฒนาการเพมขึ้นตามล าดับ ท าให้การแลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงมาเป็นการซื้อขาย ระบบของสินค้า
                                  ิ่
                       และบริการเริ่มยุ่งยากซับซ้อน ลูกน้องเริ่มไม่น่าไว้ใจ ลูกค้าก็เริ่มจู้จี้ ดังนั้น ในการซื้อขายสินค้าจ าเป็น
                       ต้องมีการตรวจสอบ (Inspection) จากนั้นมา การตรวจสอบสินค้าจึงมีมากขึ้น และการตรวจสอบแต่

                       ละครั้งเริ่มมีการจดบันทึก แล้วน าผลที่บันทึกนั้นไปวิเคราะห์ว่าผิดพลาดเพราะอะไร เพอก าหนดมาตรฐาน
                                                                                           ื่
                                                                                            ุ
                       การตรวจสอบให้ดียิ่งขึ้น และหาทางแกไขขอผิดพลาดนั้น ซึ่งเป็นยุคของการควบคุมคณภาพ (Quality
                                                          ้
                                                       ้
                       Control) เกี่ยวกับสินค้าและผลผลิตต่าง ๆ แต่อย่างไรก็ตาม การควบคุมคุณภาพเป็นการตรวจสอบผลลัพธ์
                       มากกว่าที่จะตรวจองค์ประกอบอนๆ ซึ่งต่อมาการตรวจสอบเฉพาะผลลัพธ์ไม่ช่วยให้ลูกค้าพงพอใจได้
                                                                                                  ึ
                                                  ื่
                       การตรวจสอบ หรือการควบคุมคุณภาพไม่ได้ช่วยอะไรมาก เป็นหลักของการแก้ไขที่ปลายเหตุ ดังนั้น
                       นักวิชาการ จึงเริ่มคิดน าเอาหลักการของการป้องกันมาใช้ โดยพจารณาถึงการควบคุมองค์ประกอบ
                                                                             ิ
                       ทั้งหมดที่มีผลต่อผลลัพธ์ (Results) โดยเฉพาะการควบคุมด้านปัจจัย (Input) และด้านกระบวนการท างาน
                       (Process) ซึ่งหลักการนี้ก็ คือ การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) โดยเชื่อว่า ถ้าควบคุมให้ปัจจัย
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12